Archive for ‘Conservation’

March 8, 2014

Thailand: จับอารมณ์แบ่งแยกดินแดน แรงผลักของความอยุติธรรมที่ต่อเนื่อง

Prachatai

สัมภาษณ์จอน อึ๊งภากรณ์: จับอารมณ์แบ่งแยกดินแดน แรงผลักของความอยุติธรรมที่ต่อเนื่อง

Click on the link to get more news and video from original source: http://prachatai.com/journal/2014/03/52153

Fri, 2014-03-07 00:32

สัมภาษณ์-เรียบเรียง: พิณผกา งามสม

วีดีโอ: บัณฑิต เอื้อวัฒนานุกูล

ตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมา ท่าที่ของกองทัพอันแสนจะดุดัน เป็นปฏิกิริยาต่อป้าย สปป. ล้านนาที่นำเสนอโดยสื่อฉบับหนึ่ง ดูท่าจะเพิ่มเชื้อฟืนให้กับความขัดแย้งทางการเมืองระลอกนี้หนักยิ่งขึ้น โดยมิพักต้องดูข้อเท็จจริงกันว่า สปป. นั้นย่อมาจาก สมัชชาปกป้องประชาธิปไตย แต่ยังพยายามเดินหน้าดำเนินการตามกฎหมาย หยิบยกจากคลิปคำปราศรัยและข้อความที่สื่อสารกันต่างกรรมต่างวาระมากล่าวหาคน คิดต่างทางการเมืองซึ่งเรียกร้องประชาธิปไตยต่อไป ก็ดูมีทีท่าว่า ข่าวขำๆ เงิบๆ เรื่อง สปป. ล้านนา อาจจะกลายมาเรื่องการแบ่งแยกดินแดนที่อาจจะมีคนได้รับผลกระทบไปเสียจริงๆ ได้ในเร็ววันนี้

ในอีกด้านหนึ่ง ช่วงเวลาเกือบหนึ่งเดือนที่ผ่านมา หากใครติดตามเฟซบุ๊กของ จอน อึ๊งภากรณ์ อดีต ส.ว. เลือกตั้ง และนักกิจกรรมทางสังคมที่คร่ำหวอดอยู่กับประเด็นสิทธิมนุษยชนมายาวนาน จะพบว่า เขาพยายามพูดเรื่องผลเสียหายจากภาวะสงครามกลางเมืองและการแบ่งแยกดินแดน มีนัยยะเหมือนจะส่งสาสน์ในถึงอารมณ์ความขัดแย้งที่คุกรุ่นอยู่ในหมู่ผู้ เรียกร้องประชาธิปไตยรุ่นหลังๆ อยู่ในที ว่าการพูดถึงการแบ่งแยกประเทศกันด้วยอารมณ์อันคุกรุ่น และบางที่ดูเหมือนมีความหวังในเชิงบวกว่าอะไรๆ อาจจะดีขึ้นก็ได้นั้น อาจจะต้องแลกมาด้วยการสูญเสียขนานใหญ่ในความเป็นจริง

ประชาไทสัมภาษณ์ จอน อึ๊งภากรณ์ ด้วยเหตุผลของความประจวบเหมาะในการหยิบยกประเด็นการแบ่งแยกดินแดนขึ้นมา กล่าวถึง แต่ด้วยท่าทีที่ต่างกัน จากฐานคิดที่ต่างกันกับกองทัพ จอนกล่าวในตอนหนึ่งว่า การหยิบยกประเด็นนี้ขึ้นมา เพราะไม่อยากให้มองการบางแนกดินแดนเป็นเรื่องโรแมนติกและบทเรียนจากประเทศ ต่างๆ บอกกับเราว่ามันไม่เคยเป็นเรื่องง่าย และไม่อาจจะเกิดขึ้นได้โดยปราศจากการสูญเสียขนาดใหญ่ แต่เขาไม่ได้เห็นเหมือนกองทัพว่าขณะนี้กำลังมีขบวนการแบ่งแยกดินแดนใดๆ อันเกิดจากความขัดแย้งทางการเมือง แต่มันคือการสะท้อนภาวะอารมณ์ของคนที่ถูกกดขี่ด้วยความอยุติธรรมอันยาวนาน

สำหรับท่าทีของกองทัพต่อประเด็นนี้เขาเห็นว่า กองทัพควรจะหยุดแสดงบทบาทเช่นนี้เสียที และหากเข้าใจความหมายของความมั่นคงจริงๆ แล้ว ก็ควรจะเข้าใจด้วยว่า สิ่งที่เป็นภัยต่อความมั่นคงของชาติขณะนี้คือการเคลื่อนไหวนอกระบอบรัฐ ธรรมนูญของ กปปส.

ประมาณหนึ่งเดือนที่ผ่านมา คนที่ติดตามเฟซบุ๊กของอาจารย์ก็จะเห็นว่าอาจารย์พูดเรื่องการแบ่งแยกดิน แดนอย่างต่อเนื่อง โดยพยายามชี้ว่ามันเป็นไปไม่ได้ ทำไมอาจารย์ถึงเริ่มพูดประเด็นนี้

สิ่งที่ผมเป็นห่วง ความรู้สึกของผมในระยะหลังคือฝ่ายประชาธิปไตยกำลังหมดหวังกับทางออกที่ยัง สามารถที่จะรักษาประชาธิปไตยได้ท่ามกลางวิกฤตทางการเมืองปัจจุบันเพราะว่า มองว่าสถาบันสำคัญๆ ในสังคมนี้เอียงไปทางด้านสนับสนุนข้อเสนอ กปปส. เป็นหลัก แม้แต่ระบบศาล ระบบยุติธรรม ทหาร และก็ทำให้รู้สึกว่าในที่สุดอาจจะแพ้ อาจจะต้องมีรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้งมาปกครองประเทศ อาจจะมีการปฏิรูปที่เป็นวาระของฝ่ายคุณสุเทพ แต่ไม่ได้เป็นวาระของประชาชนทั้งประเทศเกิดขึ้น อาจจะมีมาตรการที่พยายามบังคับไม่ให้พรรคเพื่อไทยหรือพรรคที่เกี่ยวข้องกับ คุณทักษิณได้มีโอกาสมาลงเลือกตั้งอีก เพราะฉะนั้นทั้งส่วนที่เป็นประชาธิปไตย คนที่ต้องการระบอบประชาธิปไตยกับคนที่สนับสนุนคุณทักษิณก็จะรู้สึกว่า เอ้อ ถ้าเป็นอย่างนี้แบ่งแยกประเทศดีกว่า

ทีนี้เราจะไม่พูดถึงในแง่กฎหมายหรือรัฐธรรมนูญนะ อันนั้นมันผิดกฎหมายอยู่แล้ว ผิดรัฐธรรมนูญอยู่แล้ว แต่ว่าผมรู้สึกว่ามันค่อนช้างเป็นความคิดแบบโรแมนติก มันเป็นความคิดแบโรแมนติกที่ไม่มองความเป็นจริง คือลองดูประวัติการแบ่งแยกในประเทศอื่น โดยเฉพาะ ยกตัวอย่างอินเดีย ปากีสถาน เขาตกลงกันที่จะแบ่งแยกแต่พอแย่งแยกจริงๆ ฆ่ากันตายเยอะมากเลย ฆ่ากันตายอย่างดหดร้ายทารุณ น่าจะตายเป็นแสน สู้กันระหว่างชุมชนด้วยซ้ำไป ไม่ใช่การสู้กันระหว่างกองทัพ เป็นการฆ่ากันตายในชุมชน เพระว่าอะไร เพราะว่าชุมชนมุสลิมในอินเดียก็มี ชุมชนที่ไม่ใช่มุสลิมในปากีสถานก็มี มันก็เกิดลักษณะฆ่าล้างเผ่าพันธุ์กัน

ลองดูประเทศไทยจะแบ่งยังไง จะแบ่งเป็นเหลืองกับแดงเหรอ ท่ามกลางจังหวัดที่บอกว่าเป็นแดง ก็จะมีชุมชนของคนที่มีความคิดเห็นไปทางเหลือง ท่ามกลางจังหวัดที่ว่าเหลือง จังหวัดในภาคใต้ก็มีชุมชนของคนเสื้อแดง แบ่งประเทศอย่างนั้นมันไม่เกิดการละเมิดสิทธิอย่างรุนแรง การฆ่ากันเหรอ ผมว่ามันไม่มีทาง และก็การแบ่งแยกประเทศก็คือเท่ากับเป็นการประกาศสงครามกลางเมือง มันแยกกันไม่ออก เพราะว่ามันไม่ใช่การแบ่งแยกประเทศที่เป็นที่ตกลงกันของทุกฝ่ายไม่ได้มาจาก การเจรจาตกลงกันว่าทุกฝ่ายทุกส่วนเห็นสมควรที่จะแยกประเทศ อันนั้นเป็นอีกกรณีหนึ่ง อันนี้เป็นการบางแยกที่ไม่ได้มาจากความเห็นชอบของทุกฝ่ายมันก็คือสงครามกลาง เมืองนั่นแหละ และสงครามกลางเมืองเป็นเรื่องโหดร้าย เป็นเรื่องที่ไม่คุ้มค่า เพราะฉะนั้น ผมคิดว่าเราต้องต่อสู้กันทั้งประเทศ คือผมเป็นคนเชื่อในระบอบประชาธิปไตย คนที่เชื่อในระบอบประชาธิปไตยต้องต่อสู้เพื่อรักษาระบอบประชาธิปไตยทั้ง ประเทศ แล้วถ้าแพ้ ผมก็เชื่อว่าแค่แพ้ชั่วคราว ไม่มีทางที่จะกดระบอบประชาธิปไตยลงไปได้นาน ยิ่งในบรรยากาศโลกปัจจุบันนี้ สิทธิเสรีภาพเป็นเรื่องสากล ระบอบประชาธิปไตยเป็นเรื่องสากล คนไทยมีความตื่นตัวทางการเมืองทั้งประเทศ มันไม่สามารถที่จะกดระบอบประชาธิปไตยได้นาน เพราะฉะนั้นเราคงต้องอดทนถ้าหากว่าเกิดฝ่าย กปปส. ชนะ แล้วเกิดรัฐบาลที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง เกิดการพยายามแก้ไขกติกาต่างๆ ซึ่งไม่ได้เป็นตามความต้องการของคนทั้งประเทศ เราก็ต้องต่อต้าน ต่อสู้ แต่ผมเชื่อในการต่อสู้โดยสันติวิธี ต่อสู้แบบต่อต้าน ไม่ร่วมมือด้วย ใช้สื่อทุกประเภท เพราะว่าเดี๋ยวนี้ประชาชนทุกคนก็สามารถมีสื่อของตัวเองได้ สามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้ ผมเชื่อว่าเขาไม่สามารถปิดอินเตอร์เน็ตได้ ก็ต้องต่อสู้กับระบอบเผด็จการจนได้ชัยชนะ

นั่นคือทางที่ทำได้โดยสันติวิธี อาจจะมีการเสียชีวิตบ้าง อาจจะมีการถูกจับ อาจจะถูกขังอยู่บ้าง แต่ไม่โหดร้ายเหมือนการทำสงครามกลางเมืองและสิ่งที่เราต้องการคือ ประชาธิปไตยทั้งประเทศ ไม่ใช่ประชาธิปไตยเฉพาะในส่วนใดส่วนหนึ่งของประเทศ

ที่อาจารย์พูดมาคือการจับอารมณ์ของคนในฝั่งที่เรียกร้องประชาธิปไตย

ใช่ ผมอ่านเฟซบุ๊กมันเห็นชัดอยู่แล้ว ผมคิดว่าจุดเปลี่ยนคือ การตัดสินของศาลแพ่ง อันนั้นเป็นจุดที่เห็นการเปลี่ยนแปลงชัดเจน คนเริ่มบอกว่าเนี่ยมันไม่มีที่พึ่งแล้ว ศาลก็พึ่งไม้ได้ คนก็รู้สึกว่าพึ่งศาลไม่ได้มาก่อนแล้ว แต่การตัดสินของศาลแพ่งมันดูชัดเจนเหลือเกินว่าศาลนี่มีธงทางการเมืองแล้ว ทำให้ศาลสามารถที่จะมองเห็นการชุมนุมของ กปปส. เป็นการชุมนุมทางการเมืองโดยสันติได้อย่างไร คนเลยคิดว่าผิดหวังแล้ว รัฐบาลนี้คงไปไม่รอด  รัฐบาลรักษาการไปไม่รอด การเลือกตั้งไปไม่รอด คงไม่มีรัฐบาลมาจากการเลือกตั้งต่อไป ถ้าอย่างนั้นพวกเราที่คิดเหมือนกัน พวกเราที่คิดเหมือนกันเราไปอยู่กันในพื้นที่ที่มีพวกมากหน่อยไม่ดีหรือ อะไรแบบนี้ ความคิดคล้ายๆ อย่างนั้น

แต่ถ้าอาจารย์พูดอย่างนี้ มันเป็นการไปคอนเฟิร์มสิ่งที่ ผบ. ทบ หรือแม่ทัพภาคสาม เขากำลังทำอยู่ คือการเชื่ออย่างปักใจเลยว่ามีขบวนการแบ่งแยกดินแดนเกิดขึ้น อย่ากรณีของ สปป. ล้านนา

อ๋อ ผมไม่ได้คิดว่ามันเป็นขบวนการแบ่งแยกดินแดน ผมคิดว่ามันเป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้น มันไม่ได้เป็นขบวนการในความหมายของขบวนการทางการเมือง แต่มนเริ่มมีคนพูดถึงกัน ซึ่งต้องบอกว่าอันนี้เป็นปฎิกริยาจากความอยุติธรรมที่เกิดขึ้นในสังคม มันเป็นเรื่อธรรมชาติของความอยุติธรรม เมื่อเกิดความอยุติธรรมอย่างต่อเนื่องคนก็เริ่มคิดจะหนี คือผมได้ยินสองกระแส กระแสหนึ่งบอกว่าไปอยู่ประเทศอื่นดีกว่า ไม่อยู่แล้วประเทศไทย ผมคิดว่ามันเป็นความรู้สึกหมดหวังมากกว่า มันไม่ได้จริงจังในความหมายนั้น แต่ผมก็กลัวว่าเยาวชนบางคน บางคนที่ไม่รู้ประวัติศาสตร์หรืออะไรอาจจะเริ่มคิดจริงจังกับมัน

ผมคิดว่า ผบ. ทบ. หรือใครก็ตาม ต้องมองที่ต้นเหตุคือ กปปส. มากกว่า คือขบวนการกปปส. นี่จริงๆ เริ่มต้นจากความชอบธรรม คือเริ่มต้นด้วยการคัดค้านกฎหมายนิรโทษกรรม แต่หลังจากนั้นก็ออกไปนอกเส้นทางประชาธิปไตย มาเรียกร้องระบอบเผด็จการแบบหนึ่ง อันนี้ทำให้คนที่รักประชาธิปไตย หรือคนที่สนับสนุนพรรคเพื่อไทยเกิดความผิดหวังอย่างแรง

จริงๆ ต้องแบ่งสังคมออกเป็นสามส่วนในความเห็นผมนะ คือมีคนที่สนับสนุน กปปส. ส่วนหนึ่ง มีคนที่สนับสนุนพรรคเพ่อไทยส่วนหนึ่ง แล้วก็มีคนอีกส่วนหนึ่งทีเป็นคนที่ต้องการระบอบประชาธิปไตย ไม่ได้สนับสนุนใครโดยเฉพาะ แต่ต้องการระบอบประชาธิปไตย ขณะนี้คนที่ผิดหวังก็จะมีสองส่วน คือส่วนคนที่สนับสนุนพรรคเพื่อไทย กับส่วนคนที่ต้องการระบอบประชาธิปไตย ซึ่งสองอันนี้ก็ซ้อนกันอยู่เหมือนกัน แต่ผมเชื่อว่าเป็นคนส่วนใหญ่ของประเทศด้วยซ้ำไป

แต่เวลาที่เรากำลังพูด ดูเหมือนว่าเราสามารถเรียกร้อง หรือมีข้อเสนอแนะต่อคนในฝั่งที่เรียกร้องประชาธิปไตย หรือคนที่สนับสนุนพรรคเพื่อไทย แต่ในอีกด้านหนึ่ง อารมณ์อันนี้ทำให้คนกลุ่มนี้รู้สึกว่าแยกตัวไปดีกว่า ในด้านหนึ่งถ้าดูมวลชน กปปส. ก็มีลักษณะที่ขับไล่คนอื่นออกนอกประเทศ

ก็ใช่ คืออันนี้คือบรรยากาศของความเกลียดชังที่เกิดขึ้น สิ่งที่ผมอยากบอกคือยิ่งแยกประเทศหรือพูดถึงมากขึ้น หรือถ้าเกิดสงครามกลางเมือง ความเกลียดชังจะถึงจุดที่ไม่สามารถกลับมาดีกันได้อีก คือขณะนี้ผมยังเชื่อว่าความเกลียดชังที่เกิดขึ้นยังอยู่ในจุดที่กลับมาคืนดี กันได้ แล้วผมคิดว่ามันเป็นเรื่องน่าเสียดายมากเพราะผมเชื่อว่าหลายๆ คนที่สนับสนุน กปปส. กับหลายๆ คนที่เป็นคนเสื้อแดง จริงๆ ถ้ามานั่งคุยกัน ถ้ามาเจอกันจริงๆ มาอยู่ในวงเดียวกัน คุยกัน แลกเปลี่ยนกัน ก็จะพบว่ามีอะไรเหมือนกันเยอะ ไม่ได้แตกต่างกันมาก ตอนนี้มันต่างกันที่ความเชื่อทางการเมือง ซึ่งความเชื่อทางการเมืองนั้น ถ้าคุยกัน แลกเปลี่ยนกัน มันสามารถปรับเปลี่ยนได้ หรือสามารถหาจุดร่วมกันได้ เช่น ผมเชื่อว่าคนทั้งประเทศว่าเหลืองแดงหรือขาว ต้องการการปฏิรูปสังคม ต้องการการแก้ปัญหาต่างๆ ปัญหาคอร์รัปชั่น ปัญหาความเหลื่อมล้ำทางสังคม สิ่งเหล่านี้มันเป็นจุดร่วม ผมอยากเห็นการหาจุดร่วมมมากกว่าการเน้นจุดต่าง ผมอยากเห็นการแก้ปัญหาในทางที่เน้นสิทธิมนุษยชน การเคารพสิทธิมากกว่าการเน้นว่าจะต้องแบ่งแยกกันหรือทำสงครามกัน อันนั้นถ้าไปแล้วมันกลับมาไม่ได้ ประวัติศาสตร์ก็สอนอย่างนั้น คือรุ่นเราอาจจะอยู่ในภาวะสงครามยาวนานก็ได้ ถ้าเราจะไปเส้นนั้น ซึ่งผมคิดว่า ผู้ใหญ่โดยทั่วไปจะเข้าใจจุดนี้ แต่ความรู้สึกท้อแท้นั้นผมเข้าใจได้ ผมก็อยากบอกว่ามันไม่มีเหตุที่จะต้องท้อแท้จริงๆ ยังไงประชาธิปไตยต้องชนะ ต้องชนะ เพียงแต่ว่าอาจจะต้องผ่าน ตอนนี้เหมือนกับถ้าเราอยู่บนเครื่องบิน เรากำลังผ่านพายุ ช่วงนี้เราผ่านพายุอยู่ แต่ว่าผ่านไปแล้วในที่สุดก็จะกลับมาสู่สภาพที่ดีกว่านี้

อาจารย์ยังเชื่อว่าเราจะผ่านการเปลี่ยนผ่านทางการเมืองได้โดยที่ไม่เกิดความรุนแรงหรือ
ความ ขัดแย้งที่รุนแรงมีอยู่แล้ว แต่ถ้าถามว่าโดยไม่ตายกันเยอะ ผมคิดว่าได้ ผมคิดว่ามันมีการปรับอยู่ขณะนี้ แม้แต่ฝ่ายคุณสุเทพที่เปลี่ยนจุดชุมนุมอะไรแบบนี้ มันเป็นการส่งสัญลักษณ์เหมือนกันว่าไม่ต้องการให้มันรุนแรงเกินไป เพราะว่ามันเริ่มมีเด็กเสียชีวิต มีอะไรที่ทุกฝ่ายยอมรับไม่ได้ ผมคิดว่า คือการต่อสู้สำหรับคนที่รักประชาธิปไตย การต่อสู้ถ้าสู้โดยสันติวิธีแล้วมีเสียหายอยู่เหมือนกัน บางคนอาจจะถูกสังหาร บางคนอาจจะถูกจำคุก แต่ไม่ตายกันเยอะ แล้วในที่สุดคนที่สู้โดยวิธีแบบนี้จะชนะ

ปฏิกิริยาจากกองทัพตอนนี้ที่ไปกด ทับความรู้สึกคนที่อาจจะน้อยเนื้อต่ำใจ รู้สึกพ่ายแพ้ รู้สึกสิ้นหวัง แล้วก็มาเจอข้อกล่าวหาเรื่องการแบ่งแยกดินแดนอีก

คือกองทัพควรจะเลิกเล่นบทบาทพวกนี้เสียที มันไม่ใช่หน้าที่กองทัพที่จะทำเรื่องนี้ ถ้ากองทัพเข้าใจเรื่องความมั่นคงจริง คนที่ทำลายความมั่นคงของประเทศคือ กปปส. เพราะว่าดึงประเทศออกนอกทาง ดึงประเทศออกนอกรัฐธรรมนูญ แต่กองทัพกลับตาบอดต่อเรื่องนี้ กลับไปเพ่งเล็งต่อฝ่ายประชาธิปไตยทีเป็นฝ่ายถูกกระทำอยู่ทุกวันนี้ซึ่งบางคน สิ้นหวังก็เริ่มจะพูดเรื่องนี้ แต่ผมคิดว่ามันไม่ได้เป็นอะไรที่จริงจังขณะนี้ นี่เป็นเรื่องที่ควรเข้าใจ ผมคิดว่ากองทัพไม่ควรที่จะเล่นบทบาทเหล่านี้ การแก้ปัญหาต่างๆ ขณะนี้ต้องแก้ไขโดยทางการเมือง ไม่ใช่โดยการมาขู่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งอย่างไม่เป็นเรื่อง

การเปลี่ยนผ่านที่จะทำให้เกิดความสูญเสียน้อยที่สุด อาจารย์มีข้อเสนอให้กับแต่ละฝ่ายอย่างไรบ้าง

คือ สิ่งที่เสนอคือ หนึ่งต้องเจรจา และต้องรักษารัฐธรรมนูญปัจจุบันไว้ คือควรจะตกลงแก้ปัญหาบนพื้นฐานของระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญที่มีอยู่ อันนี้จะไม่เกิดความขัดแย้งที่รุนแรงกว่านี้ จะแก้ปัญหาได้ ซึ่งถ้าหากว่ามันเกิดลักษณะการไม่ไว้วางใจกัน ผมก็เคยเสนอแล้วว่าหลังการเลือกตั้งก็อาจจะมีการตั้งรัฐบาลร่วมกันได้ ซึ่งอันนี้ทำได้ตามรัฐธรรมนูญ เช่น เชิญบางคนในพรรคประชาธิปัตย์มาร่วมรัฐบาลก็เป็นสิ่งที่ทำได้ มันคงมีหลายอย่างที่ทำได้ในเงื่อนไขของรัฐธรรมนูญ แต่ตอนนี้เราคงต้องคำนึงถึงประชาธิปไตยคงต้องคำนึงถึงทั้งเสียงส่วนใหญ่และ เสียงส่วนน้อยด้วย อันนี้ก็เป็นหลักประชาธิปไตยอยู่เหมือนกัน ไม่ใช่ว่าเสียงส่วนใหญ่ไม่ต้องสนใจเสียงส่วนน้อย ยิ่งในความขัดแย้งที่รุนแรงแบบนี้ต้องคำนึงถึงความต้องการของทุกฝ่าย แต่ต้องยังยึดอยู่กะหลักประชาธิปไตยเหมือนเดิม รัฐธรรมนูญนี้อาจจะแก้ไขได้ แต่ไม่ใช่ฉีกทิ้ง ไม่ใช่แก้โดยฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง การจะแก้รับธรรมนูญปัจจุบันให้ดีขึ้นก็ต้องมาจากมติของประชาชนทั้งประเทศ

January 12, 2014

In A Past-Plagued Laos, A Youth Chases A Future

art & life

Click on the link to get more news and video from original source:  http://www.npr.org/2014/01/09/260777208/in-a-past-plagued-laos-a-youth-chases-a-future

by MARK JENKINS

January 09, 2014 5:00 PM

Kia (Loungnam Kaosainam) and Ahlo (Sitthiphon Disamoe) bond when they encounter each other in a Laotian refugee village in The Rocket.   Tom Greenwood/Kino Lorber

The Rocket

  • Director: Kim Mordaunt
  • Genre: Drama
  • Running Time: 92 minutes

Not rated; violence, partial nudity, ribald humor, animal sacrifice

With:  Sitthiphon DisamoeLoungnam KaosainamSuthep Po-ngam

In Lao with subtitles

To help his struggling family and escape his own status as an outcast, a plucky young boy enters a competition. Yes, The Rocket is a sports movie, with an outcome that’s easily foreseen. The cultural specifics of this Laos-set tale, however, are far less predictable.

Australian writer-director Kim Mordaunt came to his debut fiction feature via a documentary, Bomb Harvest, about Laotian children who collect scrap metal from American bombs. The Rocket’s 10-year-old protagonist isn’t one of them, but he does encounter some unexploded bombs and rockets — “sleeping tigers,” in the local lingo. These become of particular interest to Ahlo (Sitthiphon Disamoe) when he learns about a singular contest.

The story begins, though, with Ahlo’s birth, which his superstitious grandmother (Bunsri Yindi) deems inauspicious: Although his sibling is stillborn, Ahlo is technically a twin, which according to local lore means he may be cursed. But his mother (Alice Keohavong) refuses to kill him, as the older woman advises.

Nothing comes of grandma’s premonition for a decade, until Laos’s communist government and an Australian corporation announce plans for a new dam that will inundate the village where Ahlo and his family live. (There’s only one Aussie in the film, and he doesn’t even have a speaking part, but he embodies Mordaunt’s regret about what his countrymen have done in Laos.)

On the way to their new home, catastrophe strikes the family, and grandma begins to chide that it’s all Ahlo’s fault. Things only get worse in the relocation camp, where the promised new houses haven’t been built yet.

There, Ahlo befriends 9-year-old Kia (Loungnam Kaosainam) and her only surviving relative, “Uncle Purple” (Thep Phongam). Kia is playful, but a little more sensible than her new pal; her violet-suited uncle is an amiable alcoholic and, a bit too whimsically, obsessed with James Brown.

They’re pariahs in the camp, so Ahlo’s father (Sumrit Warin) orders him to avoid them. Still, the boy has a genius for getting into trouble all by himself, and after his antics enrage the shantytown community, Ahlo’s family must join Kia and her uncle on the lam.

Making their way through a country still hobbled by a war that ended in the 1970s, the refugees encounter preparations for a “rocket festival” — the goal being to puncture the sky and release rains to end a troublesome drought. Thinking he can win enough money to buy his family a new home, Ahlo turns to Uncle Purple, a former child soldier, for tips on explosives.

Laos is reportedly the world’s most bombed country, per capita, and The Rocket conveys a strong sense of the devastation. It also shows a documentarian’s eye for the earthy rural culture, with its phallic talismans and animal sacrifices.

Like Beasts of the Southern Wild, the movie depicts a world where humans and other critters live closely together, and where animals are treasured yet routinely slaughtered. Ahlo himself is quite the killer, in fact, although Kia stops him from aiming his slingshot at one particular endangered species.

More poetically, Ahlo takes a swim that becomes metaphorical: Diving into a lake created by an existing dam, the boy floats past submerged statues that symbolize the country’s scuttled traditions. This interlude, like the movie’s conclusion, is both agreeable and a little glib.

As Ahlo, Sitthiphon Disamoe demonstrates the resourcefulness he learned during a period when he was a street seller and beggar. It’s his exuberant performance, as much as the pungently naturalistic setting, that lifts The Rocket’s scenario above the generic.

The Wall Street Journal - Life and Culture

Film Review

A Lovely ‘Rocket’ Arrives Under the Radar

Click on the link to get more news and video from original source:  http://online.wsj.com/news/articles/SB10001424052702303393804579310112308156786?mg=reno64-wsj&url=http%3A%2F%2Fonline.wsj.com%2Farticle%2FSB10001424052702303393804579310112308156786.html

Jan. 9, 2014 1:44 p.m. ET

A special pleasure of movie going is sitting down with low expectations and coming out with surprised delight. “The Rocket” will do that for you, even though your expectations will have risen somewhat if you’ve read this far.

From left, Loungnam Kaosainam, Bunsri Yindi, Sitthiphon Disamoe and Sumrit Warin Kino Lorber

It’s a small film, set in Laos, with a big theme—changing one’s destiny. The hero, 10-year-old Ahlo, carries a curse almost from birth. He’s supposed to be bad luck, and he does have a gift for creating chaos wherever he goes. But he has the great luck to be played by a former street kid, Sitthiphon “Ki” Disamoe, whose irrepressible verve confers plausibility on this feel-good fable. (So does Andrew Commis’s stylish cinematography.) Kim Mordaunt’s debut feature was shot with a mostly nonprofessional Laotian cast. You’d never know, though, that the amateurs hadn’t had extensive experience—Mr. Mordaunt, an Australian, is an actor himself, and he directs actors exceptionally well—or that the one seasoned pro wasn’t tossing off his distinctive performance with beginner’s luck.

Laos gives the action a haunting context—a nation, scarred by the Vietnam War, where unexploded American bombs, or “sleeping tigers,” still lurk in the fields. After Ahlo’s family experiences a string of disasters that include the loss of their home and land to a giant Australo-Laotian hydroelectric project, the kid goes forth with his father and grandmother in search of a place to live and a way to survive. Soon they meet an endearing orphan, Kia (Loungnam Kaosainam), and her boozy uncle, Purple (fine work by a veteran actor and comedian named Thep Phongam); the characters may be clichés, but the performances are utterly fresh. At that point the group’s journey becomes, by turns, a charming road movie—Purple is a mysterious eccentric with a military past and a James Brown fetish—and a peacetime variant of “Forbidden Games,” René Clément’s 1952 classic about a young orphan girl and a poor farmer’s son making their way through Occupied France during World War II.

Mr. Mordaunt is no stranger to that latter part of the plot, having made a documentary feature, “Bomb Harvest,” about an Australian bomb-disposal expert and Laotian children who collect bombs to sell as scrap metal. But his taste is eclectic, with talent to match, so “The Rocket” is ultimately a canny piece of entertainment in which Ahlo gets a chance to redeem himself, and save his family, at a local rocket festival. A rocket festival? Yes, such things do exist in Laos, according to the production notes. They’re county fairs of a sort, competitions that ring changes on the nation’s history by firing rockets back at the sky that once rained bombs, awarding prizes for the missile that flies highest. Far be it from me to reveal the outcome, but watching Ahlo mix his explosives is like watching a Cordon Bleu chef whipping up a stupendous soufflé.

August 3, 2012

Letter: Clinton unfairly maligned

Click on the link to get more news and video from original source:  http://www.concordmonitor.com/article/346011/clinton-unfairly-maligned

Published on Concord Monitor (http://www.concordmonitor.com)

Letter

Clinton unfairly maligned

Thomas Kerins, Contoocook

August 3, 2012

In his letter, “What Clinton ignored in Laos,” (Monitor, July 21) Merrill Vaughan criticizes the secretary of state for visiting an exhibit of cluster bombs, while failing to discuss the question of American servicemen still missing in Laos. He writes: “I guess since she demonstrated against the war, she does not realize there are 318 Americans still listed as Missing in Action in Laos alone.”

In fact MIA were discussed during the visit.

The joint Lao-U.S. communique on the visit states that the two sides “agreed to improve and further facilitate the accounting operations for American personnel still missing from the Indochina War era.”

With respect to the exhibit, between 1964 and 1973 U.S. forces dropped an immense tonnage of bombs over Laos. About 30 percent of cluster bombs dropped did not explode. Since the bombing ended, some 20,000 people, about 40 percent of them children, have been killed or maimed by accidental detonation of unexploded cluster bombs.

Hillary Clinton’s support of increased funding for cleanup efforts, her empathy for others who have incurred war-related losses, and her willingness to go to Laos, the first official visit by any U.S. secretary of state in 57 years, are likely to enhance rather than hinder U.S. efforts to achieve a final accounting of American remains and to provide some kind of closure for those families who have been waiting for 40 years or more to put loved ones to rest.

THOMAS KERINS

Contoocook


February 4, 2012

Anyone Can Protecting Buddhism not only to showed Up Your Face: Close Encounters of the Buddhist Kind (Wat Phra Dhammakaya)

 

An exclusive look inside a booming multimillion-dollar, evangelical, global Thai cult.

Click on the link to get more news and video from original source: http://www.foreignpolicy.com/articles/2011/01/20/close_encounters_of_the_buddhist_kind?page=full

CAPTIONS BY RON GLUCKMAN, PHOTOS BY LUKE DUGGLEBY | JANUARY 20, 2011

Picture this: millions of followers gathering around a central shrine that looks like a giant UFO in elaborately choreographed Nuremberg-style rallies; missionary outposts in 31 countries from Germany to the Democratic Republic of the Congo; an evangelist vision that seeks to promote a “world morality restoration project”; and a V-Star program that encourages hundreds of thousands of children to improve “positive moral behavior.” Although the Bangkok-based Dhammakaya movement dons saffron robes, not brown shirts, its flamboyant ceremonies have become increasingly bold displays of power for this cult-like Buddhist group that was founded in the 1970s, ironically, as a reform movement opposed to the excesses of organized religion in Thailand.

Yet, despite the pageantry, the inner workings of this fast-growing movement are little known to Thailand’s general public, and certainly to the rest of the world, though its teachings loom large among the legions of devotees. The veil of secrecy parted briefly in late 1999, when two top Dhammakaya leaders were charged with embezzlement in what many considered a political ploy to suppress the temple’s growing power. The charges were dismissed in 2006 after the former abbot and a colleague returned some land and nearly 1 billion baht ($32 million) to temple control.

This obscurity is because — despite its 24-hour satellite TV station — Dhammakaya has diligently worked to avoid the limelight. Until now. Over the past year, photographer Luke Duggleby and reporter Ron Gluckman have been granted unrivaled access to the facilities and ceremonies of Dhammakaya, and they provide an exclusive look at this mesmerizing movement.

 

Ron Gluckman is a Beijing-based correspondent, and Luke Duggleby is a Bangkok-based photographer.

August 28, 2011

Unknown facts about Ayesha Gaddafi

View Original Source:  http://www.weeklyblitz.net/1730/unknown-facts-about-ayesha-gaddafi

by Fayha Asalah from Iraq
August 29, 2011

She is elegant, well educated; smart enough to cope with any international community, and above all, Ayesha Gaddafi [some say Aisha Gaddafi or Ayesha Qattafi], the only daughter of ‘former’ Libyan leader Muammar al-Gaddafi is truly possess an extremely seducing quality. People in today’s media or those angry mobs on the streets of Libya may call her “sexy woman” or “diva of luxury”, but reality is Ayesha is possibly one of the finest Arab daughters in today’s world, who has unimaginable courage and brilliance. A young woman, born in 1976, has accomplished so much in international arena, including lately courageously facing the most adverse days of her loving father. People may brand me as Gaddafi fanatic or wrongly fan of Ayesha – but the total reality is, Ayesha Gaddafi really deserves admiration from everyone, especially women, for showing to the world, when sons of a father mostly try hiding in holes during his bad times, the only daughter never did the same thing. She stood up and fought and still is fighting. Even in recent past, Ayesha Gaddafi was seen as the most potential successor to her father, in if that even turned true, she would be the only Muslim female head of the government in the Arab world.

Ayesha being trained in the Libyan army got promoted to the rank of Lieutenant General, which she is holding till date. She has been the goodwill ambassador of the United Nations, philanthropist, humanitarian and a lawyer by profession. She was appointed as the United Nations Development Program National ‎Goodwill Ambassador for Libya on July 24, 2009, primarily to address the issues of HIV/AIDS, poverty and women’s rights in Libya, all of which are culturally sensitive topics in the country. In February 2011 the United Nations stripped Ayesha of her role as a goodwill ambassador. She was placed under a travel ban on February 26, 2011, under United Nations Security Council Resolution 1970. This resolution by UNSC as well as her exclusion from being the goodwill ambassador was politically motivated, as United States and NATO were jointly supporting the anti-Gaddafi rebels in Libya and they were wholeheartedly looking for ouster of Muammar al-Gaddafi from the leadership in Libya.

Goodwill Ambassador is a collective term sometimes used as a substitute honorific title or a title of honor for an Ambassador of Goodwill; but, most appropriately for a generic recognition, it is a job position or description that is usually indicated following the name of the individual recognized in the position. Goodwill ambassadors generally deliver goodwill or promote ideals from one entity to another, or to a population. Ayesha has served as a mediator on behalf of the government with European Union corporations.

In 2000 after sanctions were imposed on Iraq, Ayesha Gaddafi arrived in Baghdad with a delegation of 69 officials. Shortly before the invasion of Iraq in 2003, she met with Saddam Hussein. In 2011, she strongly protested the policies of U.S. Secretary of State Hillary Clinton and U.S. President Barack Obama, calling for a mediation of the Libyan Civil War through an international organization which would exclude them. She vehemently opposed the anti-Saddam offensives of President George W Bush in Iraq and Ayesha had been consistently a supporter of Democrats in United States.

After the recently NATO bomb attack on the compound of Muammar al-Gaddafi, Ayesha sued NATO over the bombing of a building in Gaddafi’s compound that allegedly killed her brother, Saif al-Arab Muammar al-Gaddafi, and her own infant daughter among the three grandchildren of her father’s who were killed. See video here. She claims the attack was illegal, as it was a civilian building. Ms. Gaddafi’s lawyers filed the petitions in Brussels and Paris in June 2011.

However, on 27 July it was reported that Belgian prosecutors declined to investigate the war crimes complaint filed by al-Gaddafi against NATO [whose headquarters are in Belgium], saying that their country’s universal competence law [requiring a connection between the complaint and Belgium] does not apply in the case. Ayesha Gaddafi’s husband, Ahmed al-Gaddafi al-Qahsi, whom she married in 2006, was also killed by anti-Gaddafi rebels on 26th July 2011. See Ayesha Gaddafi’s wedding video here, and here. When Muammar al-Gaddafi’s compound in Libya was occupied by the rebels, Ayesha Gaddafi’s house also became a target of attack and looting. Personal belongings and valuable of Ms. Ayesha were looted by the rebels. Some of the rebels drank and danced at the living room in the house and few of them went to her personal bedroom and had sex with a few Nigerian women they brought from Benghazi. While having sex with the Nigerian hookers, the rebels were making abusive words on Ayesha Gaddafi. At least 90 Nigerian girls were captured from several whore houses in Benghazi by the rebels, who are later forced to give sexual comfort to members of the anti-Gaddafi forces in Libya. Watch videos of rebels storming into compound of Muammar al-Gaddafi and his daughter Ayesha Gaddafi here and here. See the video of her personal bathroom inside her luxurious house here. Here is another video showing the house of Ayesha Gaddafi.

Here is the video of Ayesha Gaddafi giving lecture to the people asking them to support her father. And after the rebels starting getting stronger, when media continued to claim that Ayesha has already left Libya for another country, she gave a video statement saying she did not flee Libya.

But, now the question is, where is Ayesha Gaddafi? Some unconfirmed reports say, she has been brutally raped and murdered inside the compound by some of the rebel members in Libya and after murdering, her dead body was set on fire. No one can ever confirm this news. If she is alive, then the million dollar question remains unanswered – will this iron woman of the Arab world will retain the dignity and honor of her father? Or she will face the gallows being accused of “crime against humanity”?

Finally, I would like to ask a straight question to those big “bosses” sitting at NATO, United Nations and the UNSC. As Ayesha Gaddafi was the United Nations goodwill ambassador up to 2011, how the Westerners suddenly labeled her as a ‘murdered’ only after revoking her position? I am sure; those big “bosses” are also feeling shy of making such huge hypocrisy with the world just for the sake of serving the purpose of United States and some oil-monger countries. If you can accuse Muammar al-Gaddafi for torturing prisoners in prison, why not also accuse American presidents for notoriety at Guantanamo Bay Detention Centers? Or, whatever United States does is legal and anything others do is illegal? We clearly understand why White House and the entire forces and allies of America are continuing aggression in Arab and Muslim nations. They want to capture the Muslim world and put them under the feet of the Westerners. Shall we at all allow it to finally happen?

DISCLAIMER: Opinion expressed in this article is solely of the author and may not necessarily reflect the editorial policy of Weekly Blitz.