September 26, 2014

Call on Laotian people to save our Land, Very Soon Mekong dam will destroying the region’s lifeblood

Help Us Save the Mekong River!

Our River feeds Millions

 

The Mekong River is under threat. The governments of Cambodia, Laos and Thailand are considering plans to build 11 big hydropower dams on the river's mainstream

Mekong Dams: Opposition Grows to Laos’ Mega Dams

Key Issues:
Xayaburi, Don Sahong, and Lower Mekong Mainstream Dams

A renewed push to build hydropower dams on the lower Mekong mainstream is threatening the river’s ecosystems, aquatic resources and the fishery-dependent livelihoods of millions of people.

แม่น้ำโขง

แม่น้ำโขง – สายน้ำที่ยาวที่สุดในอุษาคเนย์ และยาวเป็นอันดับสิบของโลก จากต้นกำเนิดบริเวณเทือกเขาหิมาลัย แม่น้ำโขงไหลผ่านถึง 6 ประเทศ จากที่ราบสูงทิเบต ผ่านภาคตะวันตกเฉียงใต้ทางมณฑลยูนนาน ประเทศจีน ไหลสู่ พม่า ลาว ไทย กัมพูชา ก่อนจะออกสู่ทะเลจีนใต้ที่ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำประเทศเวียดนาม รวมความยาวทั้งสิ้น 4,909 กิโลเมตร

Click on the link to get more news and video from original source:  http://www.terraper.org/mainpage/key_issues_detail_en.php?kid=8&langs=en

The international community should not let the Lao government get away with such a blatant violation of international law. We are calling on donor governments and the governments of Thailand, Vietnam and Cambodia to take a firm stand against Laos. 

More information from http://www.internationalrivers.org/
“The international community should not let the Lao government get away with such a blatant violation of international law,” said Ms. Ame Trandem, Southeast Asia Program Director for International Rivers. “We are calling on donor governments and the governments of Thailand, Vietnam and Cambodia to take a firm stand against Laos. The Xayaburi Dam is the first of a cascade of devastating mainstream dams that will severely undermine the region’s development efforts. The food security and jobs of millions of people in the region are now on the line.”
—-

Xayaburi Construction’s Photo

Click on the link to get more news and video from original source:  http://www.bangkokpost.com/multimedia/photo/257475/laos-river-life/embed

Click on the link to get more news and video from original source:  http://www.bangkokpost.com/news/local/236558/activists-call-to-scrap-lao-dam-project

Activists are unhappy with Laos’ pledge to study the environmental effects of the controversial Xayaburi hydro dam.  Click for more

Click on the link to get more news and video from original source:  http://www.nationmultimedia.com/opinion/laos-evades-responsibility-with-dam-construction-30193861.html

Ame Trandem, Pianporn Deetes
November 8, 2012 1:00 am

In clear defiance of its neighbours and a regional agreement, the Lao government announced that it would hold a groundbreaking ceremony at the Xayaburi Dam site on the Mekong River on Wednesday, November 7. Viraphonh Viravong, Laos’ deputy minister of energy and mining, said “It has been assessed, it has been discussed the last two years. We have addressed most of the concerns.
After the ceremony, the project developers are expected to begin construction on the cofferdam, which diverts the river while the permanent dam wall is built. The cofferdam is expected to be completed by May 2013.

The international community should not let the Lao government get away with such a blatant violation of international law. We are calling on donor governments and the governments of Thailand, Vietnam and Cambodia to take a firm stand against Laos.

The Xayaburi Dam is the first of a cascade of devastating mainstream dams that will severely undermine the region’s development efforts. The food security and jobs of millions of people in the region are now on the line.

Construction activities at the dam site began in late 2010. In April 2011 the Cambodian and Vietnamese governments asked the Lao government for further studies on the project’s trans-boundary effects. In December 2011 the four governments of the Mekong River Commission met and agreed to conduct further studies on the effects of the Xayaburi Dam and 10 other proposed mainstream dams. To date, no regional agreement has been made to build the Xayaburi Dam despite the 1995 Mekong Agreement’s requirement that the governments of Cambodia, Vietnam, Thailand and Laos cooperate and seek joint agreement on mainstream projects.

Laos said it would cooperate with neighbouring countries, but this was never genuine. Instead, the project always continued on schedule and was never actually delayed. None of Vietnam and Cambodia’s environmental and social concerns have been taken seriously. Laos has never even collected basic information about the ways that people depend on the river, so how can it say that there will be no impacts?

On October 22, Vietnam’s minister of natural resources and environment met the Lao prime minister and requested that all construction on the Xayaburi Dam be stopped until necessary studies to assess the effects of Mekong mainstream dams were first carried out.

Laos continues to deny that the dam will have trans boundary impacts and is applying the recommended mitigation measures made by Finnish consulting company Poyry and French company Compagnie Nationale du Rhone, despite the fact that the project has never carried out a trans-boundary impact assessment. The Cambodian government, Vietnamese government, and scientists throughout the Mekong region have disagreed with the work of these companies.

Laos is playing roulette with the Mekong River, offering unproven solutions and opening up the Mekong as a testing ground for new technologies. When the Mekong River Commission stays quiet and tolerates one country risking the sustainability of the Mekong River and all future trans-boundary cooperation, something is seriously wrong.

As Thai companies serve as the project’s developers and financers, and the Thai government will purchase the bulk of the Xayaburi Dam’s electricity, Thailand has the responsibility to call for a stop to construction immediately and cancel its power purchase agreement until there is regional agreement to build the dam. This move by Laos sets a dangerous precedent for the future of the Mekong region. If Laos is allowed to proceed unhindered, then in the future all member governments will proceed unilaterally on projects on the Mekong River. The Mekong Agreement will become yet another useless piece of paper.

Unless the Mekong dam crisis is tackled immediately, the future of the region is in great danger. With the Asian and European heads of states gathered in Vientiane, Laos for the Asem Summit, it’s time that the international community takes a strong stand and makes it clear that such actions by Laos will not be tolerated.

Ame Trandem is Southeast Asia programme director, International Rivers. Pianporn Deetes is Thailand campaign coordinator, International Rivers.

http://www.internationalrivers.org/resources/laos-evades-responsibility-and-plows-ahead-with-xayaburi-dam-7714

Contact Us

Credits: International Rivers

July 11, 2015

HRH Princess Savivanh Savang (1933 – 4 January 2007) – I appeal to Lao women, all overseas Lao, to come together

“I appeal to Lao women, all overseas Lao, to come together and focus our efforts on improving the conditions of our fellow countrymen still in Laos. This is a plea to all Lao women to come together, to pay attention to the fate of the Lao people. Now Lao women can play a significant role in bringing all Lao together to find political means to bring back to our country freedom and democracy, which constitute the prerequisite condition for national development.”

Laos’s Princess Savivanh Savang Manivong said.

ภาพปริศนาหาดูได้ยาก สตรีสูงศักดิ์ผู้เลอโฉมเจ้าหญิงลาวพระองค์สุดท้าย

โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์ | 15 กรกฎาคม 2557 10:31 น.

Click on the link to get more news and video from original source:  http://www.manager.co.th/IndoChina/ViewNews.aspx?NewsID=9570000079583

ภาพปริศนาหาดูได้ยาก สตรีสูงศักดิ์ผู้เลอโฉมเจ้าหญิงลาวพระองค์สุดท้าย

นี่คือภาพที่ผู้รู้บอกกับโลกออนไลน์นครเวียงจันทน์ว่า เป็นพระฉายาลักษณ์เจ้าฟ้าหญิงฉวีวรรณสว่างมณีวงศ.

ASTVผู้จัดการออนไลน์ – มีผู้นำภาพเก่าๆ ภาพหนึ่งขึ้นเผยแพร่ในโลกโซเชียลมีเดีย นครเวียงจันทน์ และกลายเป็นที่ถกเถียงกันในสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อผู้รู้ท่านหนึ่งระบุว่า นี่คือพระฉายาลักษณ์เจ้าฟ้าหญิงสะหวีวันสว่าง (Princess Savivanh Savang Manivong) พระราชธิดาพระองค์แรกในสมเด็จเจ้ามหาชีวิตสะหว่างวัดทะนา กษัตริย์พระองค์สุดท้ายแห่งราชวงศ์ล้านช้างหลวงพระบาง ที่ทรงถูกบังคับให้สละราชสมบัติเมื่อฝ่ายคอมมิวนิสต์ปะเทดลาวเข้ายึดอำนาจ และเปลี่ยนพระราชอาณาจักรลาวเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว 40 ปีที่แล้ว ก่อนเสด็จสวรรคตในค่ายกักกันเมืองซำเหนือ แขวงหัวพัน

นับเป็นภาพที่หาดูได้ยากยิ่งจากหน้าประวัติศาสตร์ที่ดำมืด ซึ่งเยาวชนคนรุ่นใหม่แทบจะไม่ได้เห็น และไม่รู้จัก เนื่องจากเนื้อหาเกี่ยวกับพระราชวงศ์ถูกตัดออกจากตำราไปทั้งหมด ในขณะที่พระบรมวงศานุวงศ์กว่า 100 พระองค์ ได้แตกกระสานซ่านเซ็นออกลี้ภัยในต่างแดน และเมื่อ 4 ทศวรรษผ่านไป ก็เหลือเพียงไม่กี่พระองค์ที่ยังทรงเคลื่อนไหวทวงคืนราชบัลลังก์แห่งหลวงพระ บางอย่างสิ้นหวัง

อย่างไรก็ตาม เจ้าฟ้าหญิงสะหวีวัน (ฉวีวรรณ) สิ้นพระชนม์ในเดือน ม.ค.2550 ที่เมืองนีซ ประเทศฝรั่งเศส รวมพระชนมายุ 74 พรรษา หลังจากที่ทรงประชวรเรื้อรัง และหลังจากพระเจ้าน้องเธอเจ้าฟ้าหญิงดาลาสว่าง (Thala Savangsa) “เจ้าหญิงเล็ก” ทรงจากไปราว 1 ปีก่อนหน้านั้น

ตามบันทึกอันกระท่อนกระแท่น เจ้าฟ้าหญิงทรงมีพระประสูติกาลในปี ค.ศ.1933 (พ.ศ.2476) ในพระที่นั่งฮอยลาด (รอยราช) พระบรมมหาราชวังหลวงพระบาง ในสมเด็จเจ้ามหาชีวิต (พระเจ้าอยู่หัว) ภัทรมหาศรีสว่างวัฒนา กับพระภัทรมหาราชินีคำผุย เป็นเจ้าหญิงพระองค์แรกแห่งรัชกาลและต่อมา ได้กลายเป็นเจ้าฟ้าหญิงองค์รัชทายาทสายตรงพระองค์สุดท้ายของลาว ก่อนจะสิ้นพระชนม์ในต่างแดน เช่นเดียวกับพระบรมวงศานุวงศ์ส่วนใหญ่

“เจ้าฟ้าหญิงใหญ่” ทรงมีพระเจ้าพี่ยาเธอพระองค์หนึ่ง คือ เจ้าฟ้าชายวงสะหว่างมหามกุฎราชกุมาร กับพระเจ้าน้องยาเธออีก 3 พระองค์ ที่ทรงเป็นพระบรมราชาวงศ์ซึ่งได้แก่เจ้าฟ้าชายสีสะหว่าง เจ้าฟ้าชายสุลิยะวงสะหว่าง กับเจ้าฟ้าชายเคือสะหว่าง มีเพียงพระองค์ที่สองที่ทรงว่ายน้ำข้ามโขงหลบหนีเข้าฝั่งไทยได้สำเร็จใน เดือน พ.ย.2518 อีก 3 พระองค์ทรงหายสาบสูญไปตั้งแต่ช่วงปีนั้น โดยเชื่อกันว่า ทุกพระองค์สิ้นพระชนม์ในค่ายกักกันแขวงหัวพัน เช่นเดียวกันกับสมเด็จเจ้ามหาชีวิตสะหว่างวัดทะนา

เจ้าฟ้าหญิงสะหวีวัน ทรงศึกษาในพระราชวังหลวงพระบาง ก่อนเสด็จไปศึกษาต่อทั้งในฝรั่งเศสและอังกฤษ และเสด็จกลับคืนพระราชอาณาจักรรับใช้เบื้องพระยุคลบาท ในเดือน พ.ย.2500 เจ้าหญิงทรงเข้าพระราชพิธีอภิเษกสมรสกับเจ้าชายสีมังคะลามะนี (สีสุมัง มะนีวง) นายพันเอกแห่งกองทัพพระราชอาณาจักร ซึ่งเป็นพระประยูรญาติสายหนึ่ง ทรงมีพระราชบุตร 7 พระองค์ พระราชธิดาอีก 3 พระองค์ และยังไม่เคยมีข่าวคราวเกี่ยวกับบรรดา “เจ้าฟ้าน้อย” เหล่านั้นอีก

เจ้าฟ้าหญิงทรงหลบหนีเข้าไทยได้สำเร็จในคืนหนึ่งของเดือน พ.ย.2518 ก่อนจะเสด็จต่อไปยังประเทศฝรั่งเศส และเข้าร่วมกระบวนการทางการเมืองกดดันระบอบใหม่ในเวียงจันทน์ จนกระทั่งวันสิ้นพระชนม์ชีพ

“ในขณะนี้พวกเราเหล่าสตรีลาวได้ตั้งถิ่นฐานอย่างมั่นคงปลอดภัยใน ประเทศที่สาม อย่างไรก็ตามข้าพเจ้ายังคงคิดถึงพวกเราอีกจำนวนมากที่อยู่ข้างหลังในดินแดน บ้านเกิดที่ยังดำรงชีพอยู่ยากลำบากอย่างแสนสาหัส จะต้องทำทุกอย่างเพื่อให้ตัวเอง และครอบครัวอยู่ได้ นอกจากนั้น สตรีลาวก็ยังต้องเผชิญกับภัยข่มขู่คุกคามใหม่ๆ เช่นเอชไอวีเอดส์ และยาเสพติดที่แผ่ขยายอย่างกว้างขางในลาวปัจจุบัน”

เท่าที่มีการบันทึกเอาไว้ เชื่อว่าข้อความข้างบนนั้นเป็นพระราชสาสน์ชิ้นสุดท้ายของเจ้าฟ้าหญิงสะหวี วัน ที่รายงานจากเมืองนีซ โดยวิทยุเอเชียเสรีเมื่อปี พ.ศ.2546

—————

Princess Savivanh Savang

From Wikipedia, the free encyclopedia

Princess Savivanh Savang Manivong (1933 – 4 January 2007, Nice) was the daughter of King Savang Vatthana and Queen Khamphoui. She was educated in Luang Prabang, France and England, the princess served in the court of her father, the King of Laos, until the fall of the monarchy to communist forces in 1975. She went into exile in the city of Nice, France, where continued to politically pressure the communist government to provide human rights for women in Laos.[1]

Quotes

“Currently, we Lao women have securely settled down in third countries; however, I am thinking of those of us who are still left behind in our homeland and have to face daily struggles and difficulties in their lives. They have to do what it takes for them, and their families to survive. In addition, there are alarming new threats to Lao women such as AIDS, and drugs which are spreading widely in Laos.” [1]

External links

References

“Princess Calls For Focus on Plight of Lao Women”.

—————

Related:

1957-9: The wedding of Princess Savivanh, daughter of the last king of Laos. Photo courtesy Joel Martin Halpern, University of Wisconsin-Madison Libraries

Lao Royal Family – Wikipedia, the free encyclopedia

In 1980 HPrince Soulivong Savang, became Head of the Royal House of Laos as … Princess Savivanh Savang (1933-2007) and Prince Sisumang Manivong …

———–

Princess Calls For Focus on Plight of Lao Women

2006-04-07

Click on the link to get more news and video from original source:  http://www.rfa.org/english/women/witow_lao-20060407.html

Lao Princess Savivanh Savang Manivong currently lives in exile in the southern French city of Nice. Educated in Luang Prabang, France and England, the princess served in the court of her father, the king of Laos, until the fall of the monarchy to communist forces in 1975. The rest of the royal family was interned in communist camps and have ‘disappeared’.

What follows are excerpts from a 1999 speech and from an interview with RFA’s Lao service:

“In the olden days, Lao women have been compared to the ‘hind legs of the elephant,’ in charge of household chores, of raising children. Because of all these duties and many more, we were called ‘the mother of the household’…”

“Since then, Lao women have had the opportunity to attend school and obtain various degrees in different fields, and they are now professionally and intellectually equal to their male counterparts in all fields and careers. Regardless of their advancement in the workforce or the professions, Lao women still hold true to, and practice the traditional role and behavior of a gentlewoman. We are gracious and poised in every way possible, and most importantly, we are the main keepers of our cultural heritage and tradition. Moreover, Lao women also have an important role in instilling and following the religious rites and practices of Buddhism.”

I am always interested in hearing about Lao women, and I am very concerned about the current problems that they face, especially since these problems have never existed before in Laos.

“Tragically in 1975, an unexpected event occurred in Laos where many husbands and heads of households, were arrested and sent for re-education because of their political affiliation with the previous regime. So the wives, now the heads of the households, had to save the rest of their families by taking them away from their native land and seeking refuge in third countries. Even though Lao women were loyal followers of their husbands, in time of need, and for the sake of their children’s future and happiness, they easily and confidently took the lead role in rescuing their families, providing them with new homes in new lands.”

“I myself was no exception, for I, too, had to weather many storms, many struggles, and much hardship in my life. During my exile, my thoughts and love were with my father, mother, brothers, other relatives, and all those who were taken by the Communists and whose fates were never revealed to anyone. I have traveled to many places, many countries, where, regardless of where they are, Lao women still hold true their dual roles of being a mother and being a worker/professional in their fields.”

“Admirably, they continue to instill religious values, Lao geography, history, cultural heritage and tradition, arts and literature, and Lao, the native language of our country, to their children from generation to generation. Some of them even manage to obtain prestigious degrees and are currently executives in companies and organizations. I proudly applaud them for their outstanding accomplishments.”

“Currently, we Lao women have securely settled down in third countries; however, I am thinking of those of us who are still left behind in our homeland and have to face daily struggles and difficulties in their lives. They have to do what it takes for them, and their families to survive. In addition, there are alarming new threats to Lao women such as AIDS, and drugs which are spreading widely in Laos.”

“I appeal to Lao women, all overseas Lao, to come together and focus our efforts on improving the conditions of our fellow countrymen still in Laos. This is a plea to all Lao women to come together, to pay attention to the fate of the Lao people. Now Lao women can play a significant role in bringing all Lao together to find political means to bring back to our country freedom and democracy, which constitute the prerequisite condition for national development.”

“I am always interested in hearing about Lao women, and I am very concerned about the current problems that they face, especially since these problems have never existed before in Laos. Upon hearing these struggles that face them daily, I am saddened and disheartened about the lives of our Lao women who have to struggle daily with these problems. As far as organizing the prevention and the fight of AIDS is concerned, I have not contacted anyone yet. I think it’s important for these women, for us, to come together and work collectively…”

Original reporting by RFA’s Lao service. Edited for the Web in English by Sarah Jackson-Han and Luisetta Mudie. Please continue to send contributions to RFA’s Women in Their Own Words project to women@rfa.org .

July 11, 2015

“เสียดินแดน” เป็นประวัติศาสตร์หลอกไพร่ไปตายแทน (เพราะ “ไทย” ไม่เคยเสียดินแดน )

“เสียดินแดน” เป็นประวัติศาสตร์หลอกไพร่ไปตายแทน (เพราะ “ไทย” ไม่เคยเสียดินแดน )

โดย ธงชัย วินิจจะกูล

วันที่ 08 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

เวลา 14:46:14 น.
Click on the link to get more news and video from original source: http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1297151137

ความรู้ประวัติศาสตร์เรื่อง “การเสียดินแดน” วางอยู่บนความเข้าใจประวัติศาสตร์อย่างผิดๆ 4 ประการ

1. เข้าใจผิดว่า รัฐสมัยเก่า (ก่อนศตวรรษที่ 20) ถือการครอบครองดินแดนเป็นเรื่องใหญ่
 
ความจริง – รัฐสมัยเก่าไม่ถือการครอบครองดินแดนเป็นเรื่องสำคัญ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสมัยเก่าเป็นเรื่องของเจ้าที่มีอำนาจมากถืออำนาจบาตรใหญ่เหนือเจ้าที่มีอำนาจน้อยกว่า ลดหลั่นเป็นลำดับชั้นกันลงไป คือ เป็นความสัมพันธ์แบบเจ้าพ่อนั่นเอง เจ้าพ่อรายใหญ่ย่อมเรียก “ค่าคุ้มครอง” จากเจ้าพ่อรายเล็กกว่าในรูปของส่วยสาอากรผลประโยชน์ต่างๆและไพร่พล จากนั้นเจ้าพ่อทั้งรายใหญ่รายเล็กก็ไปขูดรีดเอากับไพร่ฟ้าข้าไทในเขตอิทธิพลของตนอีกทอดหนึ่ง

อำนาจของเจ้าพ่อรายเล็กจึงอยู่ที่อำนาจเหนือไพร่ฟ้าข้าไทในเขตอิทธิพลของตน อำนาจของเจ้าพ่อรายใหญ่จึงอยู่ที่อำนาจเหนือเจ้าพ่อรายเล็กและไพร่ฟ้าข้าไทในเขตอิทธิพลของตน อธิปไตยเหนือดินแดนแบบสมัยนี้ยังไม่มี อำนาจขององค์อธิปัตย์หมายถึงอำนาจเหนือคน คือ เหนือเจ้าพ่อรายเล็กและไพร่ฟ้าข้าไท ไม่จำเป็นต้องมีขอบเขตชัดเจน บางทีก็มีบางทีก็ไม่มี ไพร่ฟ้าจะเดินทางไกลไปไหนต่อไหนก็ยังถือว่ายังอยู่ใต้อำนาจของเจ้าองค์เดิม หรือที่เรียกว่า “ใต่ร่มพระบรมโพธิสมภาร” ของเจ้าองค์เดิม

“ดินแดน” ที่รัฐสมัยเก่าหวงแหนสุดขีดคือเมืองและวัง เพราะหมายถึงอำนาจของเจ้าพ่อ รัฐสมัยเก่าไม่หวงแหนชายแดน ยกให้เป็นของขวัญแก่ฝรั่งอังกฤษมาแล้วก็มี

2. เข้าใจผิดว่า เมืองขึ้นเป็นส่วนหนึ่งของอธิปไตยของรัฐเจ้าพ่อใหญ่

ความจริง – เจ้าพ่อรายเล็กที่ยอมเป็นเมืองขึ้นหรือประเทศราชของรัฐเจ้าพ่อใหญ่ยังคงมีอำนาจเหนือเมือง วัง ไพร่ฟ้าข้าไทและเขตอิทธิพลของตน เพียงแต่ไม่ถือว่าเป็น “อิสระ” (คำว่า “อิสระ” แต่เดิมหมายถึงเป็นใหญ่สูงสุด ความหมายเพิ่งเปลี่ยนเป็น independence พร้อมๆกับรัฐสมัยใหม่ในศตวรรษที่ 20 นี่เอง) จะถือว่าเป็น “อิสระ” ได้ยังไงในเมื่อยอมสวามิภักดิ์ต่อรัฐเจ้าพ่อใหญ่ แต่การสวามิภักดิ์มิได้หมายถึงตกเป็นสมบัติของรัฐเจ้าพ่อใหญ่แต่อย่างใด เพียงหมายถึงยอมอยู่ใต้อำนาจบาตรใหญ่ “ความคุ้มครอง” ของเจ้าพ่อรายใหญ่กว่าและยอมจ่าย “ค่าคุ้มครอง” ตามที่เจ้าพ่อรายใหญ่เรียกมาเท่านั้นเอง

“เขตอิทธิพล” หรือดินแดนที่ไม่มีขอบเขตชัดเจนของเมืองขึ้นหรือประเทศราชจึงไม่ใช่สมบัติของเจ้าพ่อรายใหญ่ แต่แน่นอนว่าเจ้าพ่อใหญ่อย่างเจ้ากรุงเทพฯย่อมถือว่าประเทศราชเป็นสมบัติของตน

ทัศนะที่ถือว่าประเทศราชและดินแดนชายขอบอำนาจเป็นของประเทศไทยมาแต่โบราณ เช่น สุโขทัยเป็นเจ้าของทั้งแหลมมลายู จึงเป็นทัศนะประวัติศาสตร์แบบเจ้าพ่อใหญ่ เช่น เจ้ากรุงเทพฯ เจ้าอังวะ หงสา ฯลฯ แต่ทว่าไทย/สยามที่เป็นรัฐแบบชาติสมัยใหม่กลับรักษาทัศนะประวัติศาสตร์ของเจ้ากรุงเทพฯและยกให้เป็นประวัติศาสตร์แห่งชาติอีกด้วย ประวัติศาสตร์ไทยจึงเป็น “ราชาชาตินิยม” คือไม่ใช่แค่ชาตินิยมอย่างประเทศอื่น แต่เป็นชาตินิยมที่คิดแบบเจ้ากรุงเทพฯ เช่น ถือว่าประเทศราชและดินแดนชายขอบอำนาจเป็นของประเทศไทยมาแต่โบราณ

3. เข้าใจผิดว่า เมืองขึ้นหรือประเทศราชหนึ่งย่อมขึ้นต่อเจ้าพ่อรายใหญ่เพียงรายเดียว เมืองขึ้นของสยามย่อมขึ้นต่อสยามเท่านั้น ดังนั้นดินแดนประเทศราชย่อมเป็นของประเทศสยามแต่ผู้เดียว
 
ความจริง – ประเทศราชของอยุธยาและกรุงเทพฯแทบทั้งหมดในประวัติศาสตร์เป็นเมืองขึ้นของเจ้าพ่อใหญ่รายอื่นด้วยในเวลาเดียวกัน เช่น พม่า (อังวะ หงสาวดี) และเวียดนาม (เว้ ตังเกี๋ย) เพราะในความสัมพันธ์ระหว่างรัฐสมัยเก่าแบบเจ้าพ่อนั้น รัฐเล็กๆถือว่ายอมอ่อนน้อมต่อเจ้าพ่อใหญ่ดีกว่าโดนเจ้าพ่อลงโทษ ครั้นเจ้าพ่อใหญ่หลายรายมาเรียก “ค่าคุ้มครอง” ก็ยอมซะเท่าที่ยังพอทนไหว (หากทนไม่ไหวค่อยฟ้องเจ้าพ่อ ก. ให้มาจัดการกับเจ้าพ่อ ข.) ประเทศราชของอยุธยาและกรุงเทพฯเป็นประเทศราชของ 2-3 เจ้าพ่อใหญ่ในเวลาเดียวกัน เจ้ากรุงเทพฯมาจนถึงสมัยรัชกาลที่ 5 รู้ข้อนี้ดีว่าประเทศราชไม่เคยขึ้นต่อสยามแต่ผู้เดียว

ดังนั้น ขอบข่ายอำนาจของเจ้าพ่อใหญ่อย่าง สยาม พม่า เวียดนามจึงซ้อนทับกันเป็นแถบเบ้อเริ่ม เพราะต่างมี่ประเทศราชร่วมกัน อำนาจซ้อนทับแบบนี้ไม่เป็นปัญหาต้องแบ่งปันกันหรือรบราฆ่ากันเพราะทุกรัฐ สมัยเก่าขอแค่ประเทศราชยอมสวามิภักดิ์และจ่ายค่าคุ้มครองสม่ำเสมอเป็นใช้ได้

แต่ครั้นทุกรัฐรับธรรมเนียมสมัยใหม่จากฝรั่งในปลายศตวรรษที่ 19 ที่ไม่ยอมรับอำนาจเหนือดินแดนแบบซ้อนทับอีกต่อไป และถือการครอบครองดินแดนเป็นเรื่องใหญ่ จึงต้องแย่งชิงกันว่าดินแดนของประเทศราชเป็นของใครกันแน่แต่ผู้เดียว ความขัดแย้งระหว่างสยามกับอังกฤษ ฝรั่งเศสสมัยรัชกาลที่ 5 คือ การพยายามแข่งขันกันช่วงชิงดินแดนประเทศราชมาเป็นของตนแต่ผู้เดียว กรณี “เสียดินแดน” คือผลของการแย่งชิงกันแล้วสยามแพ้ สยาม“ไม่ได้ดินแดนมาเป็นของสยามแต่ผู้เดียว” ฝรั่งชนะจึงได้ไป

ประวัติศาสตร์แบบราชาชาตินิยมของรัฐไทยสมัยใหม่จึงแย่ยิ่งกว่าเจ้ากรุงเทพฯแบบก่อนศตวรรษที่ 20 เสียอีก คือ หลงคิดว่าประเทศราชเป็นของตนแต่ผู้เดียวมาแต่โบราณ ครั้นแย่งดินแดนประเทศราชกันแล้วแพ้เขา จึงเรียกว่า “ไทยเสียดินแดน”

4. เข้าใจผิดว่า ดินแดนของรัฐสมัยเก่ากำหนดชัดเจนแน่นอนว่าตรงไหนของใคร จึงสามารถพูดได้ว่า ไทยเสียดินแดนไปกี่ครั้งกี่ตารางกิโลเมตร
 
ความจริง – จากที่อธิบายมาข้างต้นคงเห็นแล้วว่า อำนาจดินแดนของรัฐสมัยเก่ามีทั้งซ้อนทับกันและโดยมากไม่กำหนดขอบเขตดินแดนชัดเจน ดินแดนของรัฐสยามสมัยใหม่ที่ชัดเจนมีเส้นเขตแบ่งปันเพิ่งเกิดขึ้นมาก็ต่อเมื่อแย่งชิงกันจบด้วยกำลังทหาร (ซึ่งสยามสู้ฝรั่งไม่ไหว) สยามจึงไม่เคยเสียดินแดนที่ไม่เคยเป็นของตน


ในเมื่อไม่เคยเป็นเจ้าของดินแดนประเทศราช ไม่เคยเป็นเจ้าพ่อใหญ่แต่ผู้เดียวด้วยซ้ำไป แถมอำนาจเหนือดินแดนไม่มีขอบเขตชัดเจน การ “เสียดินแดน” แท้ที่จริงแล้วจึงเป็นการเสียอำนาจแบบเจ้าพ่อแบบโบราณ คือ ไม่สามารถอวดอ้างความเป็นอธิราชได้อีกต่อไป เรียกให้เขาอ่อนน้อมไม่ได้แล้ว เรียกเก็บผลประโยชน์ก็ไม่ได้เช่นกัน ในจารีตแบบรัฐราชาธิราชหรือรัฐเจ้าพ่อแบบสมัยเก่านั้น นี่เป็นการเสียพระเกียรติยศของพระเจ้าแผ่นดินอย่างที่สุดประเภทหนึ่ง ความเจ็บปวดของเจ้ากรุงเทพฯจึงเป็นเรื่องของการที่พระองค์เสียพระเกียรติยศอย่างสาหัส ไม่ใช่การ “เสียดินแดน” ในแบบที่เราวัดกันออกมาได้เป็นตารางกิโลเมตร

กล่าวโดยสรุป ประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมเรื่องการ “เสียดินแดน” มีองค์ประกอบทางปัญญาสำคัญ 2 ประการ คือ

1.ต้องอ้างว่าเป็นเจ้าของดินแดนประเทศราชมาแต่โบราณซึ่งเป็นทัศนะประวัติศาสตร์ของเจ้ากรุงเทพฯ และต้อง ถือเอาความเจ็บปวดของเจ้ากรุงเทพฯมาเป็นของตนด้วย

2.ต้องอ้างว่าเป็นเจ้าของแต่ผู้เดียวแบบชาตินิยมของรัฐชาติสมัยใหม่

องค์ประกอบทั้งสองประการเริ่มประมวลเข้าด้วยกันวาทการวาทกรรมการ “เสียดินแดน” โดยฝีมือของนักชาตินิยมอย่างหลวงวิจิตรวาทการและอีกหลายคนร่วมสมัยกับเขา โดยเริมผลิตมาตั้งแต่ประมาณต้นทศวรรษ 2470 (ก่อนการเปลี่ยนแปลง 2475 เล็กน้อย) และกลายเป็นส่วนสำคัญของลัทธิชาตินิยมของรัฐไทยช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง อันนำไปสู่การ “เรียกร้องดินแดนคืน” ในปี 2483และกรณีดังกล่าวมีผลให้วาทกรรมและความเข้าใจประวัติศาสตร์ (ผิดๆ) เรื่องการ “เสียดินแดน” ฝังแน่นในสังคมไทย

วาทกรรมและประวัติศาสตร์การ “เสียดินแดน” เป็นประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมตัวพ่อ คือ ทั้งทรงพลัง เป็นฐานอย่างหนึ่งที่มีส่วนก่อรูปก่อร่างความคิดชาตินิยมของไทยตั้งแต่เริ่มและยังคงเป็นฐานรากค้ำจุนชาตินิยมของไทยมาจนทุกวันนี้ แถมยังเป็นฐานภูมิปัญญาไทยอย่างหนึ่งที่ให้กำเนิดอุดมการณ์ ความเชื่อ วาทกรรมชาตินิยมอีกมากมาย

ไม่กี่ปีที่ผ่านมา มีเอกสาร power point ชุดหนึ่งแพร่หลายอย่างกว้างขวาง เสนอว่า “ไทยเสียดินแดน” มาทั้งหมด 14 ครั้ง นี่เป็นตัวอย่างผลผลิตของประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมตัวพ่อที่สามารถผลิตโฆษณาชวนเชื่อเหลวไหลได้อย่างไม่มีขีดจำกัด อ้างไปได้เรื่อยว่าปีนัง ทวาย มะริด ตะนาวศรี ฯลฯ เป็นของไทยแต่เสียไปตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 แม้แต่นักชาตินิยมรุ่นหลวงวิจิตรวาทการยังไม่เคยเพ้อเจ้อไปไกลขนาดนั้น คือในระยะแรกที่วาทกรรมการ “เสียดินแดน” เริ่มปรากฏตัวนั้น อย่างมากก็เสนอว่าเสีย 3-5 ครั้งและทั้งหมดเกี่ยวข้องกับการแย่งชิงกับฝรั่งเศสในสมัยรัชกาลที่ 5 

แต่ยิ่งนานวัน จำนวนครั้งและดินแดนที่อ้างว่าเสียไปกลับมากขึ้นทุกที เพราะตัวเลขเหล่านี้ไม่มีหลักฐานหลักเกณฑ์ใดๆทั้งสิ้น เป็นเพียงการมอมเมาให้ไพร่ราษฎรหลงผิดงมงายกับประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยม เอาความแค้นของเจ้ากรุงเทพฯและความคลั่งชาติมาเป็นความคิดของตน ยอมไปตายแทนเพื่อผลประโยชน์ของชนชั้นปกครองไทย

คนที่ยังหลงงมงายกับประวัติศาสตร์การ “เสียดินแดน” ก็เท่ากับยังหลงเชื่อประวัติศาสตร์แบบที่เจ้ากรุงเทพฯและพวกอำมาตย์ชาตินิยมต้องการ มีแต่คนที่รับใช้เจ้าจนตัวตายรับใช้เจ้านายห้วปักหัวปำเท่านั้นแหละที่เที่ยวป่าวร้องอยู่ในกรุงเทพฯให้ไพร่ราบทหารเกณฑ์ไปตายแทน


 ชาตินิยมที่กำลังบ้าคลั่งอยู่ในขณะนี้ก็เป็นผลผลิตของประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมเรื่อง “เสียดินแดน” ปัญหาเขตแดนระหว่างประเทศเป็นมรดกตกทอดจากยุคอาณานิคมอย่างไม่ต้องสงสัย แถมยังมีอีกหลายแห่งรอบชายแดนประเทศไทย ไม่ใช่แค่ชายแดนกัมพูชา ที่ไม่มีทางแก้ตกง่ายๆ หรืออาจคาราคาซังแก้ไม่มีทางหมดสิ้นก็เป็นได้ เพราะรากเหง้าของปัญหามาจากระบบความสัมพันธ์ของรัฐแบบสมัยก่อนไม่ถือดินแดนที่ชัดเจนตายตัว กับความสัมพันธ์แบบรัฐชาติสมัยใหม่ที่ถืออธิปไตยเหนือดินแดนที่ชัดเจนตายตัวเป็นเรื่องใหญ่ เข้ากันไม่ได้

การวางตัวเป็นเจ้าพ่อใหญ่อย่างที่ทำมาค่อนศตวรรษและกำลังทำอยู่ในขณะนี้ อย่างเก่งก็ชนะได้ชั่วคราว แล้วก็ต้องรบอีกครั้งแล้วครั้งเล่าโดยไม่ได้ช่วยให้ปัญหาคลี่คลายลงเลยสักนิด และหากจะใช้วิธีนี้คงต้องรบกับเพื่อนบ้านทุกด้ายตลอดแนวชายแดน เพราะมีปัญหาทั้งนั้น

 การป่าวร้องว่าเขตแดนเป็นมรดกตกทอดจากยุคอาณานิคม เราจึงต้องไม่ยอมรับแผนที่ฝรั่ง ศาลฝรั่ง เขตแดนแบบฝรั่ง และจึงชอบธรรมที่จะไปเอาดินแดนคืนมา นี่เป็นเหตุผลแบบราชาชาตินิยมวิปลาศแบบสุดๆ คือ ถือว่าไทยยังเป็นเจ้าพ่อที่อ้างความเป็นใหญ่และเป็นเจ้าของดินแดนที่ไม่เคยเป็นของตน นี่ก็เป็นผลผลิตของประวัติศาสตร์ราชาชาตินิยมตัวพ่อ

 คนที่กล่าวหาว่าคนอื่น “โง่” 3-4 ชั้นหลงตามฝรั่งในเรื่องเส้นเขตแดนจนเสียดินแดนให้เขมร คือพวกเกลียดตัวกินไข่ เพราะ ชาติ ชาตินิยม อธิปไตยเหนือดินแดนแบบที่พวกเขาโฆษณาชวนเชื่ออยู่ ล้วนเป็นของที่ไทยรับเอามาจากฝรั่งทั้งนั้น ในเมื่อเราหลีกไม่พ้นที่จะต้องอยู่กับมาตรฐานความสัมพันธ์กันแบบรัฐชาติสมัยใหม่ที่เริ่มมาจากฝรั่ง เราก็ควรรู้เท่าทัน รู้จักปรับตัว ไม่งมงายไปกับชาตินิยมหรือประวัติศาสตร์อันตรายอย่างการ “เสียดินแดน”

คนพวกนี้เที่ยวกล่าวหาคนอื่นว่าหลงฝรั่ง แต่กลับเสพติดงมงายกับสิ่งอันตรายที่ฝรั่งยุคอาณานิคมและยุคฟาสซิสต์ทิ้งไว้ให้สังคมไทย หยุดหลอกลวงประชาราษฎรไปตายแทนลัทธิราชาชาตินิยมเสียที หาทางออกที่มีอารยธรรมกว่าสงครามไม่ดีกว่าหรือ หรือว่าราชาชาตินิยมหมดท่าแล้ว จึงต้องใช้วิถีทางอนารยะบ้าคลั่งอย่างที่พยายามทำกันอยู่

(ที่มา เว็บไซต์ประชาไท) 

July 11, 2015

Nationalism is Thailand’s true religion

Opinion

Nationalism is Thailand’s true religion

3 Jun 2015 at 03:30.

NEWSPAPER SECTION: NEWS | WRITER: SANITSUDA EKACHAI

Please credit and share this article with others using this link: http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/580859/nationalism-is-thailand-true-religion

For the past month, Thai society has been in agreement that it’s only right to push the desperate Muslim Rohingya and Bangladeshi boat people back out to sea and let fate take care of them.

On Monday, lighted candles and solemn prayers filled temples nationwide as devotees promised to follow the Buddha’s path to celebrate Visakha Bucha Day. The world is perplexed. How could a country which prides itself as the hub of Buddhism be so cruel?

Every time Thailand hits world headlines – be it because of forced or child prostitution, slave labour, human trafficking, or political violence – the world asks: how could a Buddhist country commit such crimes?

My first reaction is to label the question simplistic. Isn’t it too easy to link one’s professed faith with their actions? Besides, all religions, not only Buddhism, teach love and compassion. And look how people are killing each other in the name of religion.

It’s also a major misunderstanding to think religious people cannot commit violence. The truth is, the more righteous people are, the more likely they are to choose violence as a way to eliminate what they see as sinful. The more religious fervour, the more violence. Examples abound, both here and abroad.

How many Thai Buddhists react to this question is interesting. Here are some reactions:

Why call us inhumane? We’re already housing more than 100,000 displaced people fleeing wars from Myanmar. Now it’s time for you to show your humanity by taking in these boat people; Thailand has limited resources.

We are kind; that’s why we provide them with food and water to help them go where they really want to go because Thailand is not their destination. Isn’t that enough? We are kind, but we cannot shoulder the long-term social problems immigrants bring.

Kindness or the lack of it is not the issue. The boat people influx is not of our making. It’s the legacy of Western colonialism’s divide-and-rule policy. The West must take responsibility.

Why help people who can afford to pay human smugglers to make money overseas?

We are kind, but Muslims are aggressive and have too many kids. They are national security threats who will aggravate problems in the deep South.

We have compassion, but we cannot help everyone suffering in this world. When we cannot help, we must practise Buddhism by using the principle of ubekkha, or equanimity.

Of these responses which are mere efforts to legitimise one’s cold-heartedness, I find the last one the most exasperating.

Fear fuelled by prejudice often drives people to make cruel choices. Life is full of difficult dilemmas; we all know that. We may not agree with that choice, but we can understand it. But to say your inhumanity is backed by the Buddha so that you can still feel good about yourself is, for me, hypocrisy and cruelty in the extreme. It’s also an outright abuse of the Buddha’s teaching.

To the question of why a Buddhist country is full of vices prohibited in Buddhism, may I offer an answer? It’s because we are not really Buddhists. Our predominant creed is nationalism. Racist nationalism to be exact, since our “Thainess” is based on the myth of the pure Thai race. That’s why it’s so easy for many of us to turn a blind eye to the suffering of other ethnicities and races – be they migrant workers, boat people, or Malay Muslims in the restive South.

Another creed we extol is patriarchy and sexism. It’s why the sex industry prospers, polygamy is culturally endorsed, violence against is women widespread, and gender prejudice is unquestioned.

Thai Theravada Buddhism, meanwhile, is fully operating under Thai nationalism and patriarchy. That’s why the clergy is fiercely against female ordination and remains silent amid the boat people crisis.

Buddhism may appear to be the dominant faith here, but widespread temple corruption has severely eroded public faith. The monkhood has been reduced to a social ladder for rural lads. Monks operate mainly as postmen, sending merit to our deceased relatives. Tucked in the comfortable cocoon of luxury and privilege, the feudal clergy has lost touch with the modern world and is too weak to provide a moral compass. There’s no need to look up the Buddhist canon to see if we’re true to our faith. Look at how we treat those weaker than us; that is the true reflection of our hearts.

South. Another creed we extol is patriarchy and sexism. It’s why the sex industry prospers, polygamy is culturally endorsed, violence against is women widespread, and gender prejudice is unquestioned. Thai Theravada Buddhism, meanwhile, is fully operating under Thai nationalism and patriarchy. That’s why the clergy is fiercely against female ordination and remains silent amid the boat people crisis.

Buddhism may appear to be the dominant faith here, but widespread temple corruption has severely eroded public faith. The monkhood has been reduced to a social ladder for rural lads. Monks operate mainly as postmen, sending merit to our deceased relatives. Tucked in the comfortable cocoon of luxury and privilege, the feudal clergy has lost touch with the modern world and is too weak to provide a moral compass.

There’s no need to look up the Buddhist canon to see if we’re true to our faith. Look at how we treat those weaker than us; that is the true reflection of our hearts.

Sanitsuda Ekachai is editorial pages editor, Bangkok Post.

Please credit and share this article with others using this link: http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/580859/nationalism-is-thailand-true-religion

======================
Comments:

  1. Khun Sanitsuda, I am considered very privileged to be able to read and understand fully what you have written. Do you have any plan to spread this message across our country in Thai? I feel that every Thai in this country also need to read and understand what is happening.
  2. Khun Sanitsuda, since most of us westerners already know this (wonderfully written piece by the way) THIS should be printed in ‘Thai’ newspapers! It’s your own people who needs this wake up call. I’d hate to see this great article go to waste for us, when we already know this. Send it off to all the nationalists of whom you mention. THEY are the ones who need to read this. But then again, Thais are infamous for never being able to accept the truth, so sadly, it’ll fall on deaf ears, I’m sure.
  3. The Dalai Lama has tried for over 12 years to get Theravada Buddhism removed from the World Buddhist Council because it promotes personality cult and the pursuit of personal wealth instead of following the true Buddhist creed. This would mean Thailand, Taiwan and Sri Lanka going it alone; seems the Council do not want to lose so many members (so much for them then).

Please credit and share this article with others using this link:http://www.bangkokpost.com/opinion/opinion/580859/nationalism-is-thailand-true-religion. View our policies at http://goo.gl/9HgTd and http://goo.gl/ou6Ip. © Post Publishing PCL. All rights reserved.

July 2, 2015

ข้ามเดือนมานี้ลาวเปลี่ยนเจ้าแขวงแล้ว 3 คน การถ่ายเลือดใหม่เริ่มขึ้นอีกระลอก

ข้ามเดือนมานี้ลาวเปลี่ยนเจ้าแขวงแล้ว 3 คน การถ่ายเลือดใหม่เริ่มขึ้นอีกระลอก

โดย ASTVผู้จัดการออนไลน์

27 มิถุนายน 2558 23:07 น. (แก้ไขล่าสุด 28 มิถุนายน 2558 07:44 น.)

Click on the link to get more news and video from original source: http://manager.co.th/IndoChina/ViewNews.aspx?NewsID=9580000072885

ข้ามเดือนมานี้ลาวเปลี่ยนเจ้าแขวงแล้ว 3 คน การถ่ายเลือดใหม่เริ่มขึ้นอีกระลอก

นายพิมมะสอน เลืองคำมา (เน็คไทสีแดง-กลาง) ระหว่างการประชุมใหญ่พรรคแขวง แขวงอุดมไซ ในปลายเดือน เม.ย. นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงตัวเลขาพรรคแขวง/เจ้าแขวง ซึ่งมีการทำพิธีรับมอบหน้าที่อย่างเป็นทางการ ระหว่างคนเก่ากับคนใหม่ เมื่อไม่กี่วันมานี้ “เจ้าแขวง” หรือ ผู้ว่าราชการจังหวัดของลาว เป็นตำแหน่งเทียบเท่ารัฐมนตรีว่าการกระทรวง เพียงข้ามเดือนได้มีการเปลี่ยนแปลงเป็นคนใหม่แล้ว ใน 3 แขวง ขณะที่การประชุมพรรคแขวง ยังคงดำเนินต่อไปทั่วประเทศ. — ภาพ: หนังสือพิมพ์กองทัพประชาชน.

ASTVผู้จัดการออนไลน์ – ในเดือน มิ.ย.เพียงเดือนเดียว ลาวได้เปลี่ยนตัวเจ้าแขวงถึง 3 คน ตั้งแต่แขวงบ่อแก้ว ที่อยู่ติดชายแดน จ.เชียงราย ของไทย จนถึงบอลิคำไซทางด้าน จ.หนองคาย และแขวงหลวงน้ำทา ซึ่งเป็นหน้าด่านเข้าสู่มณฑลหยุนหนันของจีน การเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลอันมีลักษณะเป็นกระบวนการนี้มีขึ้นในขณะที่พรรค ประชาชนปฏิวัติลาว กำลังจะเปิดการประชุมใหญ่ครั้งที่ 10 ขึ้นในต้นปีหน้า และพรรคสาขาต่างๆ เริ่มจัดประชุมเพื่อคัดเลือกผู้แทนไปประชุมในระดับประเทศที่จะมีขึ้น

นี่คือการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลในระดับสูงที่ดำเนินมาอย่างเป็นขั้นตอน เปรียบเป็นการ “ถ่ายเลือด” นำเอาคนรุ่นใหม่เข้าสู่กลไกการบริหารของพรรค และรัฐบาล ซึ่งในอนาคตอันใกล้บุคคลเหล่านี้จะได้เข้าเป็นกรรมการศูนย์กลางพรรค ในคณะกรรมการกลางพรรค อันเป็นหน่วยงานบริหารที่กำหนดนโยบายต่อทิศทางของพรรคทุกๆ 5 ปี ตามแบบฉบับของพรรคคอมมิวนิสต์ กับระบอบการเมืองแบบพรรคเดียวของประเทศ

กระบวนการเปลี่ยนแปลงระลอกใหม่ เริ่มขึ้นด้วยการประกาศแต่งตั้ง นายคำพัน เผยยะวง รองเจ้าแขวง ขึ้นเป็นเจ้าแขวงบ่อแก้ว แทนนายคำหมั่น สูนวิเลิด กรรมการศูนย์กลางพรรคที่ “ไปรับตำแหน่งใหม่ในกระทรวงภายใน” สำนักข่าวสารปะเทดลาวรายงานเรื่องนี้ รวมทั้งการรับมอบตำแหน่งในสัปดาห์สุดท้ายของเดือน พ.ค. ซึ่ง นายบุนปอน บุดตะนะวง กรรมการกรมการเมือง รองนายกรัฐมนตรีฝ่ายเศรษฐกิจและการเงิน เป็นประธานในพิธี

การโยกย้าย นายคำหมั่น ที่อยู่ในคณะกรรมการพรรคมานาน 3 สมัย และปัจจุบันอยู่ในอันดับที่ 21 ยังเป็นการส่งสัญญาณว่า อาจจะมีการเปลี่ยนแปลงตัวเจ้ากระทรวงภายในด้วย ถึงแม้จะยังไม่มีรายงานอย่างเป็นทางการในขณะนี้ก็ตาม

ในสัปดาห์ถัดมา การถ่ายเลือดใหม่เกิดขึ้นที่แขวงบอลิคำไซ อีกแห่งหนึ่ง ระหว่างการประชุมใหญ่ของพรรคแขวง ซึ่งที่ประชุมเลือก นายกองแก้ว ไซสงคาม รองเลขาพรรคแขวง ขึ้นเป็นเลขาคณะพรรค และเป็นเจ้าแขวงคนใหม่ แทนนายคำป้าน น้อยมะนี ซึ่งสื่อของท่างการไม่ได้ให้ข้อมูลใดๆ ว่าถูกย้ายไปประจำตำแหน่งอืนใด ทั้งนี้ นายคำป้าน เพิ่งได้เป็นกรรมการศูนย์กลางพรรคสมัยแรก ในการประชุมใหญ่ครั้งที่ 9 พรรคประชาชนปฏิวัติลาวต้นปี 2554

การประชุมใหญ่ของพรรค ไม่ว่าจะเป็นในระดับชาติ หรือพรรคสาขาในระดับใดก็ตาม ล้วนแต่เป็นเหตุการณ์ที่คึกคัก มีชีวิตชีวายิ่งของชาวคอมมิวนิสต์

ตามรายงานของหนังสือพิมพ์ปะเทดลาว การประชุมพรรคแขวงบอลิคำไซ เมื่อวันที่ 8 มิ.ย.นั้น มี พล.ต.อาซาง ลาวลี กรรมการกรมการเมือง และรองนายกรัฐมนตรี ไปร่วมเป็นเกียรติ มีผู้แทนจากทั่วแขวงเข้าร่วมประชุม 263 คน ในนั้นเป็นผู้แทนสมบูรณ์ 203 คน ซึ่งเป็นตัวแทนของสมาชิกพรรคทั่วแขวง จำนวน 9,627 คน และยังมีผู้แทนจากแขวงใกล้เคียง รวมทั้งจากนครเวียงจันทน์ ไปร่วมสังเกตุการณ์ด้วยเป็นจำนวนมาก

ข้ามเดือนมานี้ลาวเปลี่ยนเจ้าแขวงแล้ว 3 คน การถ่ายเลือดใหม่เริ่มขึ้นอีกระลอก

นายสันติพาบ พมวิหาน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการเงิน ไปเป็นรองเจ้าแขวงสะหวันนะเขต เมื่อต้นเดือนนี้ ถึงแม้จะไม่ใช่ระดับเจ้าแขวง แต่ก็ได้รับความสนใจเป็นพิเศษ เพราะนี่คือบุตรชายอีกคนหนึ่งของนายไกสอน พมวิหาน อดีตผู้นำสูงสุด ที่นำการเปลี่ยนแปลงประเทศมาเป็น สปป.ลาว ทุกวันนี้ ซึ่งได้รับแต่งตั้งไปเป็น “เลือดใหม่” ในแขวงบ้านเกิดของบิดา. — ภาพ: หนังสือพิมพ์ปะเทดลาว.

เดือน มิ.ย.กำลังจะผ่านไปพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงล่าสุดที่แขวงหลวงน้ำทา ที่อยู่เหนือแขวงบ่อแก้วขึ้นไป ซึ่งมีการรับมอบหน้าที่อย่างเป็นทางการ ระหว่างนายพิมมะสอน เลืองคำมา เลขาฯ พรรคแขวง/เจ้าแขวง คนเก่า กับ นายเพ็ดถาวอน พิลาวัน เลขาพรรคแขวง และเจ้าแขวงคนใหม่ ซึ่งก่อนหน้านี้เป็นรองเจ้าแขวงคนหนึ่ง นายสมสะหวาด เล่งสะหวัด กรรมการกรมการเมืองและรองนายกรัฐมนตรี ให้เกียรติไปร่วมในพิธี

การเปลี่ยนแปลงผู้นำในระดับแขวง เป็นไปตามมติคณะกรรมการกรมการเมืองพรรค และออกมาเป็น “ดำรัสประธานประเทศ” ซึ่งประธานประเทศเอง เป็นเลขาธิการใหญ่ผู้นำสูงสุดของพรรค และยังเป็นประธานคณะเลขาธิการพรรค อันเป็นองค์คณะที่ดูแลงานประจำวันอีกด้วย

นายพิมมะสอน เป็นกรรมการศูนย์กลางพรรคในอันดับที่ 20 เป็นผู้บริหารสูงสุดของแขวงหลวงน้ำทา มาเป็นเวลากว่า 10 ปี และเป็นอีกบุคคลหนึ่งที่อยู่ในวงการนำของประเทศมายาวนาน จากเมืองหลวงสู่ต่างแขวง การพ้นจากตำแหน่งครั้งนี้ ดูจะเป็นผลจากการประชุมใหญ่ครั้งที่ 7 ของพรรคแขวง ในช่วงปลายเดือน เม.ย. ที่ผ่านมา ที่เชื่อกันว่า “ดร.พิมมะสอน” ได้เกษียณจากทุกตำแหน่งในพรรคและรัฐบาล

ยังมีอีกเหตุการณ์หนึ่งที่ได้รับการความสนใจมากเป็นพิเศษก็คือ ในสัปดาห์แรกของเดือน ได้มีการแต่งตั้ง นายสันติพาบ พมวิหาน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการเงิน ไปรับตำแหน่งใหม่เป็นรองเจ้าแขวง ที่แขวงสะหวันนะเขต ซึ่งเป็นแขวงบ้านเกิดของบิดา สำนักข่าวของทางการกล่าวว่า เป็นตำแหน่งรองเจ้าแขวง ที่ตั้งเพิ่มขึ้นใหม่อีก 1 อัตรา และ นี่คือบุตรชายอีกคนหนึ่ง ของนายไกสอน พมวิหาน อดีตผู้นำสูงสุด ผู้นำการเปลี่ยนแปลงประเทศ มาเป็นสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทุกวันนี้

สะหวันนะเขต เป็นแขวงใหญ่อันดับ 1 ในด้านเนื้อที่อันกว้างใหญ่ จากริมฝั่งแม่น้ำโขงชายแดนไทย ไปจดชายแดนเวียดนาม และเป็นอันดับ 2 ในด้านจำนวนประชากร เป็นเขตเศรษฐกิจและการลงทุนใหญ่แห่งภาคกลาง อุดมด้วยทรัพยากร มีศักยภาพสูงมากสำหรับการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมของประเทศ และยังเป็นแขวงศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งในระดับอนุภูมิภาคอีกด้วย

กระบวนการถ่ายเลือดใหม่สะท้อนออกมาให้เห็นตั้งแต่การจัดตั้งรัฐบาล ชุดใหม่ปี 2554 หลังการประชุมใหญ่พรรค และหลังการเลือกสมาชิกสภาแห่งชาติ (ผู้แทนราษฎร) ทั่วประเทศ ซึ่งนำเอาคนรุ่นใหม่สับเปลี่ยนตำแหน่งกับคนรุ่นก่อนเป็นจำนวนมาก

หลังจากนั้น ลาวยังได้ทำการ “ปรับเล็ก” คณะรัฐมนตรีอีกหลายครั้งในช่วงปีสองปีมานี้ ซึ่งบางครั้งส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับแขวง รวมทั้ง 2 แขวงใหญ่ คือ ไซยะบูลี และจำปาสัก ด้วย

ข้ามเดือนมานี้ลาวเปลี่ยนเจ้าแขวงแล้ว 3 คน การถ่ายเลือดใหม่เริ่มขึ้นอีกระลอก

พิธีรับมอบตำแหน่งอย่าง เป็นทางการ ระหว่างนายคำหมั่น สูนวิเลิด (สวมเสื้อสีเข้ม) ที่กลายเป็นอดีต กับนายคำพัน เผยยะวง อดีตรองฯ ที่ได้เป็นเจ้าแขวงคนใหม่ จัดขึ้นปลายเดือน พ.ค.ที่ผ่านมา ที่แขวงบ่อแก้ว ติดเขตแดน จ.เชียงรายของไทย เป็นการเริ่ม “การถ่ายเลือด” ระลอกใหม่ ของพรรคประชาชนปฏิวัติลาวและรัฐบาลแห่ง สปป.ลาว. — ภาพ: หนังสือพิมพ์ลาวพัดทะนา.

     เดือน มี.ค.2557 ดร.เลียน ถิแก้ว จากไซยะบูลี ได้รับแต่งตั้งไปเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการเงิน ต่อมาในเดือน ส.ค. ก็มีการแต่งตั้ง ดร.สอนไซ สีพันดอน บุตรชาย พล.อ.คำไต สีพันดอน อดีตผู้นำสูงสุดของประเทศอีกคนหนึ่ง ไปเป็นรัฐมนตรีหัวหน้าสำนักงานรัฐบาล (สำนักนายกรัฐมนตรี) .. จากต่างจังหวัดเข้าเมืองหลวง ซึ่งโดยทั่วไปถือเป็นการ “ไปดี”

ในคราวเดียวกันนี้ ก็มีการโยกย้าย ดร.นาม วิยะเกต จากสำนักนายกรัฐมนตรีไปเป็น เลขาพรรคแขวง/เจ้าแขวง แขวงอัตตะปือ แทน ดร.คำพัน พมมะทัด ที่ถูกโยกเข้าเมืองหลวง ไปเป็นรัฐมนตรี หัวหน้าห้องว่าการศูนย์กลางพรรค ซึ่งบุคคลหลังนี้ถือเป็นการ “ไปได้ดี” อีกคนหนึ่ง

ดร.นาม เป็นอดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและการค้า ถูกโยกจากเมืองหลวง ไปเป็นผู้บริหารแขวงเล็กๆ ที่มีประชากรทั่วแขวงรวมกันเพียง 110,000 คนเศษ และยังเต็มไปด้วยกลุ่มชาติพันธุ์ ทำให้หลายฝ่ายมองว่า “เหมือนเป็นการลงโทษ” โดยอาจลืมไปว่า อัตตะปือ เป็นแขวงบ้านเกิดของ พล.ท.จูมมะลี ไซยะสอน เลขาธิการใหญ่พรรค และประธานประเทศ ซ้ำยังเป็นแขวงที่อุดมด้วยทรัพยากรธรรมชาติ เป็นดินแดนแห่งการลงทุนอุตสาหกรรมการเกษตร และการผลิตกระแสไฟฟ้าส่งออก

นอกจากนั้น ดร.นาม มิใช่ใครอื่น หากเป็นบุตรชาย พล.ท.สมาน วิยะเกต ผู้นำปฏิวัติรุ่นที่ 2 อดีตกรรมการกรมการเมือง ผู้ชี้นำงานแนวคิดและทฤษฎีพรรคประชาชนปฏิวัติลาว

ทั้งหมดนี้เป็นเหตุการณ์ล่าสุดในชีวิตการเมืองของลาว ในขณะที่การประชุมใหญ่ระดับพรรคแขวงทั่วประเทศยังคงดำเนินต่อไป และการประชุมใหญ่ผู้แทนทั่วประเทศครั้งที่ 10 ของพรรค ที่มีขึ้นทุกๆ 5 ปี จะมีขึ้นในอีกไม่นาน.

 

June 27, 2015

Country Reports on Human Rights Practices for 2014 –Lao People’s Democratic Republic

Country Reports on Human Rights Practices for 2014 –Lao People’s Democratic Republic

EXECUTIVE SUMMARY

Click on the link to get more news and video from original source: http://www.state.gov/j/drl/rls/hrrpt/humanrightsreport/index.htm#wrapper

Country Reports on Human Rights Practices for 2014
United States Department of State • Bureau of Democracy, Human Rights and Labor

The Lao People’s Democratic Republic is an authoritarian state ruled by the only party the constitution legitimizes, the Lao People’s Revolutionary Party (LPRP). The most recent National Assembly election, held in 2011, was not free and fair. Authorities maintained effective control over the security forces.

The most significant human rights problems continued to be that the government denied citizens the ability to change their government, conditions in some prisons were harsh, and corruption in the police and judiciary led to a lack of due process and arbitrary arrest and detention.

Other human rights problems continued to include: abuse of prisoners and detainees by some police and security force members; government infringements on freedoms of speech, press, assembly, and association, as well as on the right to privacy; government restrictions on academic freedom; local restrictions on religious freedom; trafficking in persons; societal discrimination based on sexual orientation and against persons with HIV/AIDS; and government restrictions on worker rights.

The government did not take steps to prosecute and punish officials who committed abuses, and police and security force members acted with impunity.

Section 1. Respect for the Integrity of the Person, Including Freedom from:Share

a. Arbitrary or Unlawful Deprivation of Life

There were no credible reports the government or its agents committed arbitrary or unlawful killings, including of insurgents.

There were no developments in the cases of persons allegedly killed by the military or police in previous years.

b. Disappearance

There continued to be no progress reported in the 2012 abduction of Sombath Somphone, a prominent civil society leader and retired founder of a nonprofit training center, by individuals in plainclothes after what appeared to be an orchestrated stop of his vehicle by traffic police in Vientiane. The government denied knowledge of his whereabouts, and its investigation into his disappearance was neither conclusive nor transparent.

c. Torture and Other Cruel, Inhuman, or Degrading Treatment or Punishment

The law prohibits such practices. Police and security force members sometimes abused prisoners.

Authorities occasionally subjected detainees to beatings and long-term solitary confinement in completely dark rooms, and in some cases authorities placed them in leg shackles or wooden leg stocks for long periods. Degrading treatment, the chaining and manacling of prisoners, and solitary confinement in small, unlit rooms were standard punishments in larger prisons, while smaller provincial or district prisons employed manacles and chains to prevent prisoners from escaping.

Prison and Detention Center Conditions

Prison and detention facility conditions varied widely and in some prisons continued to be harsh. There was a separate prison for foreigners.

Physical Conditions: Samkhe Prison in Vientiane, the country’s largest, held approximately 550 male and 150 female prisoners separated by gender in a 12-acre facility built in 1966, according to authorities. Some prisons reportedly held juveniles with adults, although no official or reliable statistics were available on the overall population or gender of prisoners. Cells were apparently crowded. Prisoners had adequate access to potable water. Food rations were minimally adequate. Prisoners reportedly could grow fruits and vegetables to supplement their meals, and some prisons had a sundry shop where prisoners could purchase basic food and toiletries. Some prisons other than Samkhe required inmates to reimburse authorities upon release for the cost of food eaten during incarceration. Prisoners in the larger, state-operated facilities in the capital generally fared better than did those in smaller, provincial prisons.

Although most prisons had some form of clinic, usually with a doctor or nurse on the staff, medical facilities were usually deficient. Prisoners had access only to basic medical care, and treatment for serious ailments was unavailable. For example, in Samkhe Prison there was a clinic with four sick beds and a staff of three for 700 inmates. Prisoners received vaccinations upon arrival; if sick, they had to pay medicine costs. Nongovernmental organizations (NGOs) reported prison officials did not allow charitable organizations to visit prisoners to provide humanitarian assistance, despite earlier permitting this practice. Villagers who lived near the Samkhe Prison confirmed a fire at the prison in October burned down a warehouse, but they reported no fatalities. Villagers believed the fire destroyed prisoners’ stored personal belongings and clothing. Government officials did not confirm the incident or report any injuries. In some facilities prisoners could arrange for treatment in police hospitals, and authorities sent prisoners to these hospitals in emergencies. There was no information available during the year on the prevalence of death in prisons or pretrial detention centers.

Administration: There was no information available regarding the adequacy of recordkeeping on prisoners. In certain cases the government allowed the release of offenders convicted of nonviolent crimes without formally sentencing them to prison.

There were no ombudsmen to serve on behalf of prisoners and detainees. Prison wardens set prison visitation policies. Family members generally could access prisoners and detainees once per month. Prisoners and detainees could follow some religious observances, but authorities did not provide any facilities.

The Ministry of Public Security monitored prison and detention center conditions. Authorities permitted prisoners and detainees to submit complaints to judicial authorities without censorship and to request investigation of credible allegations of inhuman conditions, although there were no reports prisoners, detainees, or their family members made such requests due to fear of exacerbating poor detention conditions. There were also no known investigations of complaints.

Independent Monitoring: The government did not permit regular independent monitoring of prison conditions. At times authorities provided foreign diplomats access to some prisons, but such access was strictly limited.

d. Arbitrary Arrest or Detention

The law prohibits arbitrary arrest and detention, but some government officials did not respect these provisions, and arbitrary arrest and detention persisted.

In 2012 the government detained and moved children and adults deemed to be beggars and homeless from Vientiane streets in an effort to prepare the capital for hosting an international summit meeting. According to the government, authorities returned some homeless individuals to their home villages and moved others into a temporary housing facility in a Vientiane suburb. Authorities sent 21 children to the government-run facility between October 2013 and September. At year’s end 49 persons remained in the facility, 19 of whom were women. The government also arranged with an international NGO to provide emergency shelter and informal education to children removed from city streets. The NGO reported it assisted 1,541 children between January and September and had some children in its shelter at year’s end.

Role of the Police and Security Apparatus

The Ministry of Public Security maintains internal security but shares the function of state control with the Ministry of Defense’s security forces and with the LPRP and the LPRP’s popular front organizations. The Ministry of Public Security includes local, traffic, immigration, and security (including border) police, village police auxiliary, plus other armed police units. The armed forces have domestic security responsibilities, including counter-terrorism and counterinsurgency.

Impunity remained a problem, as did police corruption; there were no statistics available on their extent. The Ministry of Public Security’s Inspection Department maintained complaint boxes throughout most of the country for citizens to deposit written complaints, but usage statistics were also unavailable.

The government continued to cooperate with international organizations to implement a national strategy to strengthen law enforcement and deal with increased drug trafficking and abuse, as well as related crime and police corruption.

Arrest Procedures and Treatment of Detainees

Police and military forces have arrest powers, although normally only police exercised them. The law provides detainees the right to a prompt judicial determination of the legality of their detention. The law also requires authorities to notify detainees of the charges against them and inform next of kin of their detention within 24 hours of arrest, and this generally occurred. Prisoner access to family members was not certain, but officials generally allowed it. There is a bail system, but authorities arbitrarily implemented it. There were procedures for house arrest of detainees, particularly for health reasons, and isolated reports of detainees held under house arrest. There were no reports of prisoners held incommunicado during the year. The law provides detained, arrested, or jailed citizens and foreigners the right to legal representation upon request.

Arbitrary Arrest: Police continued to exercise wide latitude in making arrests, relying on a provision of the law that provides warrants are not necessary to apprehend persons in the act of committing crimes or in urgent cases. Police reportedly sometimes used arrest as a means to intimidate persons or extract bribes.

Pretrial Detention: There is a one-year statutory limit for detention without trial. The length of detention without a pretrial hearing or formal charges is also limited to one year. The Office of the Prosecutor General reportedly made efforts to have authorities bring all prisoners to trial within the one-year limit, but officials occasionally did not meet the requirement. The Prosecutor General’s Office must authorize police to hold a suspect pending investigation. It grants authorization in three-month increments, and police must release a suspect after a maximum of one year if they lack sufficient evidence to bring charges. Authorities at times continued to detain prisoners after they completed their sentences, particularly if prisoners were unable to pay court fines. In some cases officials released prisoners after they agreed to pay fines later.

e. Denial of Fair Public Trial

The law provides for an independent judiciary, but impunity and corruption continued to be problems. Some judges reportedly accepted bribes. There were no cases reported during the year of government or party officials influencing the courts. The National Assembly may remove judges from office for impropriety but did not do so during the year.

– See more at: http://www.state.gov/j/drl/rls/hrrpt/humanrightsreport/index.htm#wrapper